Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบกำกับดูแลการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ภูมิศักดิ์ อรัญญาเกษมสุข
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย อ บทคัดย อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบกํากับดูแลการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจไทย ลักษณะวิชาการเศรษฐกิจ ลักษณะวิชาการเศรษฐกิจ การเศรษฐกิจ ผู%วิจัย ผู%วิจัย นายภูมิศักดิ์ อรัญญาเกษมสุข นายภูมิศักดิ์ อรัญญาเกษมสุข นายภูมิศักดิ์ อรัญญาเกษมสุข หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค5เพื่อศึกษาโครงสร%างการกํากับดูแลการบริหารจัดการ รัฐวิสาหกิจ ทั้งระดับการกํากับดูแลภายนอกองค5กรและระดับคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ตลอดจน แนวโน%มของสภาพแวดล%อมและสถานการณ5ในอนาคต รวมทั้งข%อจํากัดของการกํากับดูแลการบริหาร จัดการรัฐวิสาหกิจ เพื่อวิเคราะห5และนําเสนอแนวทางการพัฒนาระบบกํากับดูแลการบริหารจัดการ รัฐวิสาหกิจไทย ที่สามารถสร%างความมั่นคงให%กับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย างยั่งยืน จากการศึกษาพบว า รัฐวิสาหกิจไทยมีสภาพป8ญหาใน ๒ ระดับ คือ ระดับนโยบาย ที่ขาด การบูรณาการในการกําหนดนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจทั้งระบบ เนื่องจากรูปแบบและสถานะ ของการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจที่หลากหลาย ทั้งด%านการเงินและการดําเนินภารกิจที่แตกต างกัน ทําให% รูปแบบการกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจมีลักษณะกระจัดกระจาย ตามที่กระทรวงเจ%าสังกัดและหน วยงานที่ เกี่ยวข%องจะกําหนด ประกอบกับไม มีหน วยงานกลางที่มีอํานาจกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจทั้งระบบ ทําให% การปฏิบัติงานของรัฐวิสาหกิจมีมาตรฐานที่แตกต างกัน และระดับการบริหารจัดการภายใน ของรัฐวิสาหกิจ ที่ไม มีโครงสร%างการบริหารงานที่ยืดหยุ นและคล องตัวเพียงพอ ตลอดจนกระบวนการ การสรรหาบุคคลเป;นกรรมการและผู%บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจขาดความโปร งใสและมีการแทรกแซง จากภายนอก ทําให%มีการแต งตั้งบุคคลที่ไม เหมาะสมกับการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจอย างแท%จริง สําหรับแนวทางการพัฒนาระบบกํากับดูแลการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ ควรมีการ ดําเนินการใน ๒ ส วนคือ (๑) ส วนที่เกี่ยวกับโครงสร%างการกํากับดูแลภายนอกรัฐวิสาหกิจ โดยการตรา กฎหมายจัดตั้งคณะกรรมการกลาง และจัดให%มีหน วยงานกลางเพื่อกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจอื่น พร%อมทั้ง จัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจ เพื่อถือหุ%นในกิจการของรัฐวิสาหกิจที่เป;นบริษัท ตลอดจนกําหนดแผน ยุทธศาสตร5รัฐวิสาหกิจ เพื่อใช%เป;นกรอบในการดําเนินงาน และทบทวน/จัดกลุ มของรัฐวิสาหกิจที่มี ความสําคัญตามแนวทางยุทธศาสตร5ชาติ รวมทั้งจัดตั้งองค5กรกํากับดูแลรายสาขาในการกํากับดูแล การดําเนินกิจการของรัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน และปรับปรุงกฎหมายแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ5 ให%มีมาตรฐานสภาพการจ%างของแรงงานรัฐวิสาหกิจใกล%เคียงกับภาคเอกชน และ (๒) ส วนที่เกี่ยวกับ การบริหารจัดการภายในของรัฐวิสาหกิจ โดยปรับปรุงสภาพการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจให%มีความ คล องตัว มีการมุ งเน%นการสร%างนวัตกรรมและนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช%ในการดําเนินงาน ตลอดจนใช%ระบบธรรมาภิบาลมากํากับการดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อให%เกิดความโปร งใส และมีการ ประเมินผลการดําเนินงานที่มีมาตรฐาน รวมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองกรรมการรัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้ เพื่อให%ภาครัฐสามารถบริหารจัดการให%รัฐวิสาหกิจมีประสิทธิภาพและสามารถแข งขัน ในระดับสากลได%ต อไป

abstract:

ABSTRACT ABSTRACT Title The management and supervisory structure ove Title r Thai state-owned enterprises (SOEs) Field Economics Field Name Mr.Poomsak Aranyakasemsuk Course Name Course NDC Class 59 This study aims to investigate the management and supervisory structure over Thai state-owned enterprises (SOEs) at internal and external levels, the trend of the externalities, and future scenarios, as well as the limitations of the current structure. It aims to analyze and suggest policy developments towards SOEs management and supervisory structure that will strengthen and stabilize Thai economy and society sustainably. This study finds that Thai SOEs are facing two major problems. The first problem has been rooted in policy level. The current scheme lacks holistic policy-making and supervision. The varieties of the form of the establishment, organization structure, sources of finance and diverse mission and duties, have made the supervisory structure dispersed depending on the line ministries and related agencies. Additionally, the absence of the centralized and responsible unit has caused multiple standards in supervising the SOEs. The second problem is the insufficient flexibility of the SOEs internal management system. The nomination process of the board of directors and top executives is not transparent and interfered by external parties and resulted in the employment mismatch. This study, hence, suggests that the promising measures for the management and supervision over Thai SOEs are the structural reform of the supervision and the refinement of the internal management system. In order to be able to supervise and manage overall structure, the central committee and responsible unit should be established and empowered by law. In addition, the holding company should be set up to hold shares in the public limited and limited SOEs as the sole active shareholder. The direction and operational framework of the SOEs as well as the priority in accordance with the national strategy should be reflected through the SOE strategic plan. The regulator in each industry should be found. The last but not least measure is to revise the Labor Relation Act B.E. 2518 (1975) to lift up the conditions of employment standard of the SOEs labor to the extent similar to private one. The second measure, the refinement of the internal management system, can be done by ensuring transparencies and operational flexibilities, employing information technology and innovation, adopting good governance in its operation and management. The State Enterprise Performance Assessment (SEPA) should be standardized. The nomination committees and skill matrix are put in place. With all the above mentioned measures, the state will be able to optimize its resources and fully support the SOEs to be efficient and competent in international arena.