เรื่อง: แนวทางการควบคุมกำกับยาด้านจุลชีพของประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ไพศาล ดั่นคุ้ม
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืองแนวทางการควบคุมกํากับยาต้านจุลชีพของประเทศไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายไพศาล ดันคุ้ม หลักสูตร วปอ. รุ่นที
การใช้ยาต้านจุลชีพมากเกินความจําเป็ นในปัจจุบันก่อให้เกิดปัญหาเชือดือยา ส่งผล
กระทบต่อชีวิตและเศรษฐกิจในระดับโลกการวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาและวิเคราะห์ระบบ
การควบคุมกํากับยาต้านจุลชีพของประเทศไทยและจัดทําข้อเสนอแนวทางการควบคุมกํากับยาต้าน
จุลชีพของประเทศไทยภายใต้ขอบเขตการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ศึกษาเปรียบเทียบกับต่างประเทศตามแนวทางการควบคุมกํากับ
เชือดือยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ดําเนินการโดยการทบทวนเอกสารทีเกียวข้อง รวมถึง
การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกียวข้อง การวิจัยนีพบว่าสํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยามีบทบาทการควบคุมกํากับในทุกส่วนของระบบยา ทังการคัดเลือก การจัดหา การกระจาย
การใช้ยา และการควบคุมโฆษณา สําหรับการดําเนินการควบคุมกํากับยาต้านจุลชีพ องค์การอนามัย
โลกได้จําแนกแนวทางการจัดการปัญหาเชือดือยาต้านจุลชีพไว้เป็ นด้านต่าง ๆ ได้แก่การสร้างการ
รับรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก การเฝ้ าระวังและสร้างฐานข้อมูลองค์ความรู้ การควบคุมและ
ป้ องกันการติดเชือดือยา การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม และการลงทุนวิจัยยา วัคซีน และการ
ตรวจรักษาใหม่ ซึงประเทศไทยมีการดําเนินการตอบสนองต่อปัญหาเชือดือยาต้านจุลชีพมาตังแต่ปี
พ.ศ. ตามโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล และมีแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดือยา
ต้านจุลชีพ พ.ศ. – ในปัจจุบัน แต่กิจกรรมการดําเนินงานยังไม่ครอบคลุมทุกสาเหตุของ
ปัญหาดังนันสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงควรดําเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้
ตอบสนองต่อสาเหตุของปัญหาเชือดือยา และควรดําเนินการจัดทําข้อมูลอ้างอิงของยาต้านจุลชีพใน
สือออนไลน์ เร่งดําเนินการปรับประเภทยาต้านจุลชีพให้สําเร็จ ปรับปรุงระบบการขึนทะเบียนตํารับ
ยาให้รวดเร็ว และดําเนินการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด
abstract:
Abstract
Title:Thailand Antimicrobial Regulation Guidance
Field:Social – Psychology
Name Paisarn Dunkum Course : NCD Class
Overuse of antimicrobial drugs cause antimicrobial resistant (AMR) problems that
have impact on people’s lives and worldwide economic. Research objectives are to study and
analyze the regulation system of antimicrobial drugs in Thailand and to develop suggestions for
Thailand antimicrobial regulation guidance respond to the operation of Thai Food and Drug
Administration (Thai FDA) under Drug Act B.E. 2510, compare with other foreign actions under
World Health Organization (WHO) guideline. Data were collected by literature review and
in-depth interview of experts and stakeholders. This research found that Thai FDA has regulated
entire drug systems which are Selection, Procurement, Distribution, Use and Advertising control.
WHO’s guideline for antimicrobial resistance control aims to improve awareness and
understanding, surveillance and create knowledge database, control and prevent the AMR
spreading, appropriate use of antimicrobial drugs, and investment in new drugs, vaccines and
diagnostic tools. Thailand takes action in response to the AMR problems since 2007 by running
Antibiotics Smart Use project and initiated the AMR’s handling strategic plan 2017 – 2021.
However, current actions of FDA were not covered every root causes of the AMR’s problems.
FDA should amend the law to meet the problems and should create national official antimicrobial
drug’s reference data in online channel, accelerate the operation of antibiotics reclassification,
improve drug registration system to enhance the process and strict law enforcement.