เรื่อง: การศึกษาภาวะเศร้าโศกร่วมจากการสูญเสียของมหาชน กรณีการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราชบรมนาถบพิตร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พงศ์เกษม ไข่มุกด์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
79
บทคัดยอ
เรื่อง การศึกษาภาวะเศราโศกจากการสูญเสียของมหาชน กรณีการเสด็จสวรรคตของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายพงศเกษม ไขมุกดหลักสูตร วปอ. รุนที่59
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณ ปจจัยที่เกี่ยวของ และอิทธิพล
ในการทํานายภาวะเศราโศกที่ผิดปกติจากการสูญเสียของมหาชน ภายหลังการเสด็จสวรรคตของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร โดยทําการศึกษาในคนไทยที่มีอายุ18 ปขึ้นไป จํานวน 813 คน
แบงเปนกลุมตัวอยางจากสวนภูมิภาค จํานวน 410 คน และ กลุมตัวอยางผูมารวมพระราชพิธีพระบรมศพฯ
ณ บริเวณพระบรมมหาราชวัง จํานวน 403 คน เก็บขอมูลระหวางวันที่ 15 พฤศจิกายน – 15
ธันวาคม 2559 สุมดวยวิธีStratified three stage sampling โดยการตอบแบบสอบถามที่ตอบดวย
ตนเองทั้งหมด 2 สวน ไดแก 1) แบบสอบถามขอมูลสวนบุคคล และ 2) แบบประเมินอารมณเศราโศก
จากการสูญเสียที่ผิดปกติ วิเคราะหขอมูลดวยสถิติพรรณนา นําเสนอขอมูลความชุกของภาวะเศราโศก
จากการสูญเสียเปนคาความถี่และรอยละ วิเคราะหความสัมพันธของปจจัยตาง ๆ กับภาวะเศราโศก
จากการสูญเสียดวยการทดสอบ Chi - square หลังจากนั้นวิเคราะหความถดถอยแบบ Logistic
regression เพื่อหาปจจัยทํานายภาวะเศราโศกที่ผิดปกติจากการสูญเสียในคนไทย ผลการศึกษา
พบวา กลุมตัวอยาง 813 คน สวนใหญเปนเพศหญิง (รอยละ 63.3) อยูในกลุมอายุ 26 - 45 ป (รอย
ละ 45.2) พบวามีภาวะเศราโศกที่ผิดปกติจากการสูญเสียจํานวน 230 คน (รอยละ 28.3) ปจจัย
ทํานายภาวะเศราโศกที่ผิดปกติที่จาการสูญเสีย ไดแก เกิดกอนป พ.ศ. 2522 (p < 0.01) การศึกษา
ระดับ ม.6 หรือต่ํากวา (p < 0.05) เคยมีประสบการณมารวมงานพระราชพิธีพระบรมศพฯ (p < 0.05)
และมีภูมิลําเนาอยูกรุงเทพมหานคร (p < 0.05)
ก
abstract:
Abstract
Title: The study of collective mourning from mass grief: the death of
King Bhumibol Adulyadej of Thailand
Field: Social Psychology
Name: Mr. Pongkasem Khaimook Course: NDC Class: 59
This study aimed to explore the prevalence of complicated grief of Thai
people after the death of King Bhumibol Adulyadej (King Rama IX), as well as, to
examine the predictive ability among related factors contributing to collective
mourning. The study of collective mourning from mass grief: the death of
King Bhumibol Adulyadej of Thailand is a cross-sectional survey. This survey
investigated 813 Thai people aged 18 and above who lived in 4 regional province
(413 samples) and those who came to pay respect for the funeral of King Rama IX at
the royal palace (403 samples). The data was collected during November 15th – December 15th, 2017. Stratified three stage sampling was applied to allocate the
optimal samples. The research instrument composed of 2 sections; 1) background
history and 2) the Inventory of Complicated Grief (ICG). Descriptive statistic
(frequency and percentage) was chosen to present the prevalence of complicated
grief. Chi-square test was used to analyze the relationship between demographical
factors and grief. The predictive ability of related factors was determined by Logistic
regression. Of the eligible 813 representative Thai samples, 100 percent of the
respondents agreed to participate. All of them completed the questionnaire. Most
respondents are female (63.3%) with age of 26-45 (45.2%). People who showed
prominent complicated grief were 23 (28.3%) Factors with good predictive ability of
complicated grief were being born before 1979 (p < 0.01), being educated under
grade 12th, having joined the King’s funeral (p < 0.05), and residing in Bangkok as a
hometown (p < 0.05).