เรื่อง: ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายภาษีอากรในการจ่ายเงินค่าสิทธิและค่าบริการอื่นให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในต่างประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประภาศ คงเอียด
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง “ปัญหาการบงัคบัใชก
้
ฎหมายภาษีอากรในการจ่ายเงินค่าสิทธิและค่าบริการอืÉน
ใหแ
้
ก่บริษทั หรือหา
้
งหุน
้ ส่วนนิติบุคคลในต่างประเทศ”
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นายประภาศ คงเอียด หลกัสูตร วปอ. รุ่นท 56 ีÉ
งานวิจยัฉบับนÊีมีวตัถุประสงค์เพÉือศึกษาเกÉียวกับหลักการในการจดั เก็บภาษีอากร
ในส่วนทีÉของภาษีได้ภาษีมูลค่าเพÉิม และภาษีศุลกากร ในกรณีทีÉมีการจ่ายเงินค่าสิทธิหรือค่าบริการอÉืน
ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในต่างประเทศ เพืÉอศึกษาวิเคราะห์เกีÉยวกับการจาํแนก
ประเภทและจาํนวนเงินทีÉจะตอ้งเสียภาษีโดยศึกษาวิเคราะห์จากคาํอธิบายและแนวทางการตีความ
เกีÉยวกับเงินค่าสิทธิตามต้นแบบสัญญาว่าด้วยการจัดเก็บภาษีจากเงินได้และทุน (The Model
Convention with Respect to Taxes on Income and Capital) ขององค์การเพืÉอความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
และการพัฒนา (Organization on Economic Cooperation and Development : OECD) ความตกลงทัÉวไป
วา่ ดว้ยศุลกากรและการคา้ (The General Agreement on Tariffs and Trade)ขององค์การการคา้โลก
(World Trade Organization : WTO) เพืÉอศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในการเสียภาษีเงินได้
ภาษีมูลค่าเพÉิม และภาษีศุลกากร เกีÉยวกบัการจ่ายเงินค่าสิทธิและค่าบริการและการกาํ หนดราคา
ของทีÉนาํของเขา้มาในราชอาณาจกัรเพืÉอเสียภาษีศุลกากร ตลอดจนการศึกษาวิเคราะห์แนวทางการ
ตีความของกรมสรรพากร กรมศุลกากร และแนวคาํ พิพากษาของศาลฎีกา เพืÉอวิเคราะห์ปัญหา
และกาํ หนดแนวทางแก้ไขการบังคบั ใช้กฎหมายให้สอดคล้องกัน ระหว่างการจดั เก็บภาษีของ
กรมสรรพากรและกรมศุลกากร ในกรณีการจ่ายเงินค่าสิทธิและค่าบริการอÉืน ให้แก่ผูร้ับซÉึงเป็ น
บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในต่างประเทศ
ผลการวิจยัพบว่าการจ่ายเงินค่าสิทธิและค่าบริการให้แก่บริษทหรือห้างหุ้นนิติบุคคล ั
ในต่างประเทศ มีปัญหาเกÉียวกบัการตีความเพืÉอจาํแนกประเภทและการกาํ หนดจาํนวนระหวา่ งเงิน
ค่าสิทธิกบัค่าบริการอืÉน ซึÉงจะมีผลต่อการเสียหรือไม่ตอ้งเสียภาษีหรือเสียภาษีในอตัราทÉีแตกต่าง
กนั นอกจากนีÊยงัส่งต่อการบงัคบั ใช้สัญญาภาษีซ้อนในส่วนทีÉเกÉียวกบัการเสียภาษีเงินไดร้ะหว่าง
ประเทศ การเสียภาษีมูลค่าเพÉิม ตลอดจนการเสี ยภาษีศุลกากร เมืÉอมีการนําของเข้ามาจาก
ต่างประเทศและการจ่ายเงินค่าสิทธิหรือค่าบริการอÉืนมีส่วนเกÉียวขอ้งกบัของทÉีนาํ เข้านÊนั แนวคาํ
พิพากษาศาลฎีกา และแนวทางการตีความเกÉียวกบั เงินค่าสิทธิระหว่างหน่วยงานจดั เก็บภาษีคือข
กรมสรรพากรและกรมศุลกากรไม่สอดคลอ้งกนั ส่งผลกระทบในการบริหารและจดัเก็บภาษีของรัฐ
โดยรวม
ผูว้ิจัยมีข้อเสนอแนะ ให้มีการออกคาํวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร
ตามประมวลรัษฎากรและคาํวินิจฉัยอากรศุลกากรตามพระราชบญั ญตัิศุลกากร พุทธศกัราช 2469
เพืÉอกาํ หนดเกÉียวกบั การจาํแนกประเภทและจาํ นวนเงินได้สําหรับเงินค่าสิทธิและค่าบริการอÉืน
ทีÉมีการจ่ายให้แก่บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในต่างประเทศ ในการจดัเก็บภาษีเงินได้และ
ภาษีมูลค่าเพิÉม ตามประมวลรัษฎากร และการตีความเรืÉองเงินค่าสิทธิทÉีเกีÉยวกบัของทÉีนาํ เขา้ ในการ
จดัเก็บภาษีศุลกากรเพÉือให้การบริหารและจดัเก็บภาษีอากรของกรมสรรพากรและกรมศุลกากรมี
ความสอดคลอ้งตอ้งกนั ซึÉงจะสามารถแกป้ ัญหาการบงัคบั ใชก้ ฎหมายภาษีอากรในส่วนการจดัเก็บ
ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิÉม และภาษีศุลกากร ทีÉเกีÉยวกับเงินค่าสิทธิและค่าบริการได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
abstract:
Abstract
Title “Problems Related to the Enforcement of Tax Laws for the Payment of Royalty
and Other Service Fees to the Corporations in Foreign Countries”
Field Politics
Name Mr. Prapas Kong-ied Course NDC Class 56
The purpose of this research is to study the principle of tax collection for income tax,
value-added tax and customs duty on the payment of royalty and other service fees to the
corporations in foreign countries and to analyze the classification of income especially the
interpretation of “ Royalty” in The Model Convention with Respect to Taxes on Income and
Capital of the Organization on Economic Cooperation and Development (OECD Model) and The
General Agreement on Tariffs and Trade of the World Trade Organization (WTO). The specific
purpose of this study is to analyze the relationship on the payment of income tax, value-added tax
and customs duty for royalty and service fee as well as the customs valuation to specify the tax
base of customs duty on imported commodities by studying and analyzing the rulings of Revenue
Department, Customs Department and the Supreme Court judgments to identify problems and
find out the measures and solutions for the consistency problem of tax law enforcement between
Revenue Department and Customs Department relating to the tax collection on the payment of
royalty and service fee to the corporations in foreign countries.
The result of this research finds that the payment of royalty and service fee to
corporations in foreign countries has problems about the interpretation of “royalty” and “service
fee” for classifying the amount of payment subject to tax, the enforcement of Double Taxation
Agreement (DTA) in the case of international income tax, as well as value added tax and customs
duty in the case of import. In addition, in the case that the payment of royalty and other service
fee related to import of goods, there are a lot of rulings and Supreme Court judgments that are
inconsistent; therefore, the problems of tax administration occurred increasingly.
2
The researcher finds the solution of these problems by issuing decisions of the Tax
Problem Decision Committee under the Revenue Code and the Customs Act B.E. 2469 to provide
the guideline for the classification of royalty and other service fee in case of the payment of these
expenses to corporation in foreign countries for the purpose of collecting income tax and value
added tax under the Revenue Code and customs duty under the Customs Act B.E. 2469. This
measure will provide tax administration consistency between the Revenue Department and the
Customs Department and will solve the problem of law enforcement for the collection of income
tax, value added tax and customs duty as a whole.