เรื่อง: ยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยให้เป็นผู้นำด้านโลจิสติกส์ในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย นิธิ ภัทรโชค
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง ยุทธศาสตร์การเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยให้เป็ น
ผู้นําด้านโลจิสติกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ,าโขง
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นาย นิธิ ภัทรโชค หลักสูตรวปอ. ร่นที
ุ 59
การศึกษานี, มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาศักยภาพของระบบโลจิสติกส์ของประเทศอยาง่
ครบวงจร โดยเปรียบเทียบ ความสามารถในการแข่งขันด้านโลจิสติกส์ของไทยในอนุภูมิภาคลุ่ม
แม่นํ,าโขง และเสนอยุทธศาสตร์การเพิมความสามารถในการแข่งขันของระบบโลจิสติกส์ของ
ประเทศ ซึ งจะสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจ และดึงดูดการลงทุนจากนักลงทุนทั,งใน และ
ต่างประเทศ
ผลการศึกษา พบว่า ประเทศขีดความสามารถในการแข่งขัน ทั,งโดยภาพรวม หรือ
ทางด้านโลจิสติกส์ รวมถึงด้านความยากง่ายในการทําธุรกิจเป็ นอันดับต้นๆ ของอาเซียน และเป็ น
อันดับหนึงในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ,าโขง ยกเว้นประเทศจีนตอนใต้ซึ งไม่มีการสํารวจแยกต่างหาก
อย่างไรก็ตามยังต้องมีการพัฒนาเพิมเติมในเรื องโครงสร้างพื,นฐานทางด้านโลจิสติกส์ และ
กฎระเบียบ พิธีการทางศุลกากรยังไม่เอื,ออํานวยความสะดวกต่อการขนส่งสิ นค้าข้ามแดน
นอกจากนี,ยังขาดแคลนแรงงานด้านโลจิสติกส์ รวมถึงผู้ประกอบการโลจิสติกส์รายย่อยมีจํานวน
มาก ส่วนการให้บริการด้านโลจิสติกส์ยังเป็ นงานทีมีมูลค่าตําเป็ นส่วนใหญ่ และทีสําคัญ การค้า
แบบพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์กําลังเติบโตอย่างรวดเร็ ว ซึ งจะต้องปรับปรุ งการรู ปแบบการ
ให้บริการโลจิสติกส์เพือสนับสนุนการค้าการลงทุนของประเทศไทย
สําหรับแนวทางการยกระดับโลจิสติกส์ของไทยให้เป็ นศูนย์กลางโลจิสติกส์ในระดับ
อนุภูมิภาค คือ พัฒนาโครงสร้างพื,นฐานเพือเชือมอ่าวเส้นทางข้ามผ่านระหว่างอ่าวตังเกี<
ย และ
อ่าวเบงกอล เพือเพิมการไหลเวียนของสินค้าผ่านประเทศไทย และเน้นการขนส่งทีมีต้นทุนตําให้
มากโดยต้องเชือมโยงรูปแบบการขนส่งอย่างราบรืน และนอกจากนี,ต้องอํานวยความสะดวกการ
ขนส่งโดยให้ภาครัฐและเอกชนผลักดันการแกไขกฎระเบียบ รวมถึงพัฒนาบุคลากรโลจิสติกส์ให้มี ้
คุณภาพ และส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเน้นการให้บริการทีมูลค่าสูง พร้อมทั,งสร้างโมเดลโลจิสติกส์
ทีเหมาะสมกบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วย และทีสําคัญทีสุด ภาครัฐ ภ ั าคเอกชน และสถาบันความรู้
จะต้องร่วมมือกน อย ั ่างใกล้ชิดและมีวัตถุประสงค์และเป้ าหมายร่วมกน มองภาพเดียวก ั น ในการ ั
ขับเคลือนประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางทางด้านโลจิสติกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ,าโขง
abstract:
ABSTRACT
Title Thailand Competitiveness Enhancement Strategy to Become Logistics Hub in
Greater Mekong Subregion (GMS)
Field Economics
Name Nithi Patarachoke Course NDC Class 59
This study focuses on the potential of the entire Thailand’s logistics system by
studying logistic competitiveness of Thailand in Greater Mekong Subregion (GMS) and propose
competitiveness enhancement strategy that will support economic growth and attract both
domestic and foreign investment.
The study reveals that Thailand’s overall competitiveness and logistic
competitiveness as well as ease of doing business was in the upper rank in ASEAN and was in the
top rank in GMS, excluding Southern China which was not ranked separately. However, logistics
infrastructure must be improved further while laws and regulation relating to the custom
clearance does not sufficiently facilitate cross-border transportation. In addition, Thailand is
experiencing labor shortage. Furthermore, small logistics providers comprise the largest portion
whereas the most the providers render low value added services. Most importantly, e-commerce
platform is now growing rapidly, so logistics service activities must be adjusted to support the
change in trade and investment.
Strategies to enhance logistics in Thailand to be logistics hub in GMS are to develop
land bridge to connect between gulf of Tonkin and gulf of Bengal to increase the flow of goods
through Thailand. In additions, low cost transportation mode i.e. rail and water mode, should be
emphasized with the well-managed of multimodal connection. Private sector and public sector
should cooperate to amend and enact the law to facilitate the transportation as well as logistics
personnel must be systematically developed and produced to serve the market requirement while
logistics provider must be promoted and supported to be able to provide high-value services.
Appropriate e-commerce logistics model must be created. Last but not least, government and
private sectors together with knowledge institute must be closely cooperated with the same goal
and vision to drive the country to be logistics hub in GMS.