เรื่อง: แนวทางการพัฒนาแหล่งวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประทีป เพ็งตะโก
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพฒั นาแหล่งวฒั นธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอยา่ งยงั่ ยนื
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผ
ู้วิจัย นายประทีป เพ็งตะโก หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่ ๕๖
แหล่งวัฒนธรรมเป็ นต้นทุนส าคัญของชาติ หากสามารถบริหารจัดการให้เป็ นแหล่ง
ท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยืนไดแล้ว จะสามารถสร้างประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติทางด้านเศรษฐกิจ และ ้
สงัคมไดอ้ยา่ งมหาศาล ดงัน้นัผวู้ิจยัจึงไดศ้ึกษาเพื่อเสนอแนะแนวทางและองคป์ ระกอบที่เป็นปัจจยั
เก้ือหนุนให้การพฒั นาแหล่งวฒั นธรรมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยืน เพื่อให้ภาครัฐ เอกชน
หรือชุมชนท้องถิ่น สามารถนา แนวทางดงักล่าวไปใช้หรือปรับใชต้่อไป
จากการศึกษาเรื่อง แนวทางการพฒั นาแหล่งวฒั นธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยืน
พบว่ามีหลักการส าคัญ ๒ ประการ ได้แก่
๑. ต้องยึดหลักสมดุลย์ กล่าวคือต้องรักษาความสมดุลย์ระหว่างการอนุรักษ์ทรัพยากร
ทางวัฒนธรรม กบัการพฒั นาสิ่งอา นวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว การอนุรักษ์ทรัพยากรทาง
วฒั นธรรมตอ้งรักษาคุณค่าความเป็นของแทด้้งัเดิม โดยปฎิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กฎบัตร
สากลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในขณะเดียวกันการท่องเที่ยวจะยงั่ ยืนได้น้ันจะตอ้งมีนักท่องเที่ยวมา
เยี่ยมเยือนอย่างสม่า เสมอ จึงจา เป็นตอ้งมีสิ่งอา นวยความสะดวก มีการให้บริการที่ไดม้ าตรฐาน
เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่นกั ท่องเที่ยว แต่การพฒั นาสิ่งอา นวยความสะดวกในแหล่งวัฒนธรรม
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในพ้ืนที่โบราณสถานน้นั จะตอ้งไม่ขดั ต่อหลกัการอนุรักษ์จะตอ้งทา เท่าที่จา เป็น
ไม่ชิงเด่นจนท าลายคุณค่าโบราณสถาน
๒. ต้องยึดหลักการมีส่วนร่ วม เนื่องจากการพัฒนาแหล่งวัฒนธรรมไม่สามารถ
ด าเนินการส าเร็จโดยหน่วยงาน องค์กร หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพียงล าพัง ต้องบูรณาการความ
ร่วมมือจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวขอ้ง องคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน
ตลอดจนผมู้ีส่วนไดส้่วนเสียท้งัหมด มาร่วมดา เนินการต้งัแต่ตน้ โดยร่วมคิด ร่วมทา และร่วมรับ
ประโยชน์อย่างมีเหตุผล เพื่อให้การด าเนินงานเป็ นไปอย่างราบรื่ น รวดเร็ว และลดปัญหาการ
ขัดแย้ง โดยผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจที่เกิดจากการพัฒนาแหล่งวัฒนธรรมควรจะตกกับ
ทอ้งถิ่นที่ต้งัอยใู่นพ้ืนที่แหล่งวฒั นธรรมน้นั ๆ เป็นสา คญัข
ท้งัน้ีเพื่อใหก้ารพฒั นาแหล่งวฒั นธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยืน บังเกิดผลในทาง
ปฏิบัติ จึงควรมีการจัดท าแผนแม่บท เพื่อเป็ นกรอบแนวทางให้แต่ละภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้รู้
บทบาทหน้าที่และนา ไปปฏิบตัิให้สอดคลอ้งกนั โดยมีการจดั ต้งัองค์กรข้ึนมารับผิดชอบในการ
บริหาร เพื่อก ากับ ติดตาม ประสาน เพื่อให้การปฏิบัติเป็ นไปตามแผนงานที่ก าหนดไว้
การพฒั นาแหล่งวฒั นธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยืน ต้องให้ความส าคัญกับ
องค์ประกอบ ๗ ด้าน ได้แก่ ด้านทรัพยากรทางวัฒนธรรม ด้านองค์ความรู้และข้อมูลข่าวสาร
ดา้นชุมชนทอ้งถิ่น ด้านธุรกิจท่องเที่ยว ด้านการเชื่อมโยงพ้ืนที่ ด้านสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์
และด้านกิจกรรมพิเศษ
abstract:
ABSTRACT
Title The Sustainable of Tourism Development of a Cultural Site.
Field Social –Psychology
Name Mr. Prateep Phengtako Course NDC Class 56
Sites of cultural significance constitute a valuable segment of nationally-important
capital through potentially being a medium for connecting identity and economic health of a place and
its people. With proper management in place that expertly handles the sites’ sustainable tourism
appeal, these sites will immeasurably add to the nation’s economic prosperity and social prestige. The
aim of this researcher is to carry out studies with a view to making proposals and suggesting means
and conditions that contribute to the sustainable development of cultural sites as tourist destinations
which the public and private sectors and local communities can draw on or modify to suit differing
needs and circumstances.
The study arrives at two principles for sustainable development of cultural sites as
tourist destinations, which are: balance of use, and contributory participation.
The balance of use calls for finding a point of balance between cultural site conservation
and thriving development of their tourism appeal and amenities. In preserving a cultural site, its
essential character must not be compromised under any condition, the attainment of which can be
done through legal control, regulations, strictly honouring international charter requirements as
applying to individual sites concerned. At the same time, for a sustainable tourist destination to live
on as such it requires a fairly constant stream of visitation, whose needs and curiosity are met by
standard amenities and services. The adding of amenities and associated components in a cultural site,
especially at a heritage site of sensitive repute must not in any way contravene time-honoured
principles of conservation. These add-on facilities or conveniences must be kept to a minimum, and
will in no way overshadow the ancient site in terms of attraction or otherwise.2
Contributory participation rests on the synergistic cooperation of all units, organizations,
or individuals involved and to the exclusion of none directly concerned, be it local administrative
agency, private firms, citizens, and stake-holders. Their singular and collective efforts, input, interests,
and stakes must be accounted for in a civilized manner to attain speedy settlement and minimizing of
conflict. The sizable economic benefits accruing from the cultural site promotion shall be returned to
the locality where the cultural site is located itself.
For practical results, the sustainable tourism development of a cultural site should
executed under a masterplan, which provides the overall policy and guidelines for planning, actions
and accountability of those involved to produce uniformity of action. Specifically some semblance of
a corporate body should be created to run the whole show-managing, supervising, monitoring, and
coordinating so that the plan is carried out to the letter.
The sustainable tourism development of a cultural site must take into account the 7
numbered factors are : Cultural Asset, Knowledge and Information, Community, Tourism Business
Operation, Connectivity of Locality, Environment and Landscape and Event.
Gjgj
FFFFFF