เรื่อง: คนไทยไร้พุง การสังเคราะห์นโยบายและประสบการณ์การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ณรงค์ สายวงศ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง คนไทยไรพุง : การสังเคราะหนโยบายและประสบการณการสรางเสริม
สุขภาพของบุคลากรกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายณรงค สายวงศ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 59
งานวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่อง คนกรมอนามัยไรพุง มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) เพื่อสังเคราะห
และถอดบทเรียน “นโยบายคนไทยไรพุง” ที่ดําเนินการภายใตการนําของกรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข ระหวางป พ.ศ. 2550-2559 (2) เพื่อสะทอนสถานการณ ปญหาและอุปสรรค โครงการ “คนกรมอนามัยไรพุง” ที่ดําเนินงานโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (3) ไดรูปแบบการ
ดําเนินงานองคกรไรพุง ที่มีประสิทธิภาพและนําไปสูความยั่งยืน โดยผูใหขอมูลหลักสามารถ
แบงออกได 2 กลุม คือ (1) กลุมผูบริหาร (จํานวน 7 คน) เก็บขอมูลดวยการสัมภาษณเจาะลึก และ
(2) กลุมผูเขารวมโครงการ (จํานวน 30 คน) เก็บขอมูลดวยการสนทนากลุม นอกจากนั้นยังดําเนิน
การศึกษาจากเอกสาร เพื่อทบทวนนโยบายการทํางานที่ผานมาในชวงปพ.ศ. 2550-2559 โดยขอมูล
ที่ไดถูกนํามาวิเคราะหและประมวลผลดวยการวิเคราะหเนื้อหา และจัดกลุมคําตอบตามแนวทาง
ของการวิจัยเชิงคุณภาพตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว
ผลการศึกษา พบวา โครงการ“คนกรมอนามัยไรพุง”เริ่มขึ้นในกรมอนามัยตั้งแต ปพ.ศ. 2550
โดยอาศัยแนวคิด“นโยบายสาธารณะ”“การมีสวนรวม”และ“กรอบออตตาวาเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ”
เปนแนวทางหลักในการขับเคลื่อนนโยบายและรูปแบบของกิจกรรม ขอมูลจากการวิจัยเชิงเอกสารพบวา
กิจกรรมทั่วๆ ไป พบมากที่สุด รองลงมา คือ กิจกรรมการออกกําลังกายและกิจกรรมดานโภชนาการ
ซึ่งพบในสัดสวนที่เทากัน คือ รอยละ 25 ขณะที่กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาคลินิก DPAC / การพัฒนา
เกี่ยวกับประชาชนทั่วไป / งานวิจัยประเมินผล และงานดานนโยบาย พบในสัดสวนที่นอยที่สุด รอยละ 14.3
ในมุมมองของผูเขารวมโครงการพบวา (1) วิกฤตสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
(2) เตรียมพรอมสุขภาพตัวเองเพื่อดูแลสมาชิกในครอบครัวในอนาคต (3) พันธกิจและบริบทของ
หนวยงาน (4) แรงกระตุนจากกลุมเพื่อน มีผลอยางยิ่งตอการตัดสินใจเขารวมโครงการโดยผูประสบ
ผลสําเร็จในการควบคุมน้ําหนัก ไดอาศัยแนวคิด (1) การลดทอนและแทนที่ (2) การเพิ่มระยะเวลา
ของการบดเคี้ยวเพื่อเพิ่มเนื้อสัมผัสของอาหาร (3) การปรุงอาหารเพื่อบริโภคเอง (4) การเรียนรูคําวาพอ
และ (5) ชีวิตไมควรอยูเฉยมาใชเปนแนวทางหลักในการดําเนินชีวิต ในกรณีของผูเขารวมโครงการ
ที่เริ่มมีพัฒนาการแตยังไมประสบผลสําเร็จ พบวา (1) การกลับไปใชชีวิตที่บานซึ่งปลอดนโยบายของ
หนวยงาน (2) ภาวะเกรงใจในการปฏิเสธการชวนกินของคนรอบขาง (3) วัฒนธรรมอาหารประเภท
บุฟเฟต (4) เชื่อในสื่อและรายการประเภทตะลอนชิม เปนเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหไมสามารถควบคุม
น้ําหนักตัวเองได ขณะที่ในกลุมของผูเขารวมที่ลมเหลวจากการเขารวมโครงการ พบวา กลุมตัวอยาง
ในกลุมนี้สวนใหญ (1) ไมเห็นดวยกับการบังคับเชิงนโยบาย (2) เขารวมโครงการดวยความเกรงใจ
กับผลประโยชนตางตอบแทน (3) เชื่อวานโยบายไมสามารถประยุกตใชไดในชีวิตจริง (4) แบบแผนการ
ทํางานที่ไมสามารถเขารวมกิจกรรมไดและ (5) มีปญหาสุขภาพที่ไมสามารถเขารวมกิจกรรมไดข
ในมุมมองของผูบริหาร พบวา (1) การพัฒนาดานนโยบาย (2) การพัฒนาดานการ
บริหารองคกร (3) การพัฒนาดานบุคคล (4) การพัฒนาการสื่อสารและจัดการสิ่งแวดลอม และ
(5) การพัฒนาสิ่งแวดลอมและการเขาถึงผลิตภัณฑสุขภาพ จะชวยใหโครงการ “คนกรมอนามัยไรพุง” ดําเนินตอไปได ขณะที่ขอเสนอแนะในมุมมองของผูเขารวมโครงการทั้งหมด พบวา (1) เสริมสราง
ความตระหนักและเสริมพลังทางบวกเชิงสุขภาพ (2) เสริมสรางการดําเนินงานที่เปนรูปธรรม
และตอเนื่อง (3) เสริมสรางการมีสวนรวมของผูบริหารระดับสูง (4) สรางระบบสื่อสารที่ทันสมัย
(5) สรางแกนนําระดับบุคคล (6) ขับเคลื่อนดวยกระบวนการกลุม (7) พัฒนานโยบายแบบ Bottom Up
abstract:
ABSTRACT
Title Healthy Thais : Synthesis of Health Promotion Policy and
Experience of Personnel, Department of Health,
Ministry of Public Health.
Field Social-Psychology
Name Mr. Narong Saiwongse Course NDC Class 59
This qualitative research, entitled “Khon Grom Anamai Rai Pung (Healthy
Anamai)”, aimed to realized Healthy Anamai project, to analyzed situation, problems,
and obstacles of Healthy Anamai project which performed by Department of Health,
Ministry of Public Health, and to develop a sustainable and efficiency Healthy
Anamai project implementation. The key informants could be divided into two groups.
Firstly, 7 administrators and 30 project participants, by using in-depth interviews and
focus group discussions, respectively. Moreover, documentary research also applied
as the main tool to analyze the previous activity which performed during the year
2007-2016. Content analysis and data grouping were used for data conclusion.
The research found that “Healthy Anamai” was established in Department of
Health since the year 2007, while public policy, social participation, and Ottawa
Charter for health promotion played the important framework for policy movement
and project creation. The data from secondary research illustrated that “general
activity” found in high proportion, followed by physical activity, nutritional activity, which found in the same proportion (25%). The activity related to clinic and services
(DPAC) / activity for general population / research and evaluation / policy development,
were less to respond (14.3%)
In project participant point of views, health crisis of family members, being
healthy for healthy caregiver, organizational missions and context, and invitation from
friends, played the significant reasons to join the project. For the successful participants, to
reduce the quantity, to increase time of chewing, to cook by themselves, to learn the
meaning of enough, and to be an active person, were explained as a way of living. By
means of the participants who are in the middle way of success, they agreed that,
living with family at home, invitation from family members, buffet, and media were
the factors to loss the healthy way of living. Finally, the looser, they reported that
forcing policy, conflict of interest, unable to apply for daily life, limitation from works,
and health problems, played the important results to fail in weight control.- 2 -
In administrators point of views, policy development, organizational
development, personal development, communicational development and
environmental management, environmental developments and health product
accessibility, all together will bring more success for “Healthy Anamai” project. On
the other side, the project participants agreed that concerning empowerment,
continuing activity, increasing the administrator’s participation, media and
communication development, health leader, community movement, and revised the
policy as bottom-up will created more opportunity for Healthy Anamai as a whole.