เรื่อง: รูปแบบการนำโซลาร์เซลล์มาใช้กับระบบประปาหมู่บ้านเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งซ้ำซากในเขตชุมชนพื้นที่ชนบท จังหวัดราชบุรี
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เจษฎา เปรมนิรันดร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง โครงการวิจัยรูปแบบการนําโซลาร์เซลล์มาใช้กับระบบประปาหม่บ้านเพื
อแก้ปัญหาภัยแล้ง ู
ซํ&าซากในเขตชุมชนพื&นที
ชนบทจังหวัดราชบุรี
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้วิจัย พลตรีเจษฎา เปรมนิรันดร หลักส ู ูตร วปอ. ร่นที
๕๙ ุ
ในเขตชุมชนพื
นทีชนบทจังหวัดราชบุรี จะเกิดปัญหาภัยแล้งซํ
าซากทีรุนแรงในทุกปี
ปี ละ ๒ – ๔ เดือน ทําให้ขาดแคลนนํ
าเพือการอุปโภคบริโภคและนํ
าเพือการเกษตร อีกทั
งในพื
นที
ดังกล่าวนี
ยังพบวามีปัญหากระแสไฟฟ้ าตกอีกด้วย เนืองจากในฤดูแล้งจะมีปร ่ ิมาณการใช้ไฟฟ้ าสูงสุด
ทําให้ระบบประปาหมู่บ้านในเขตชุมชนพื
นทีชนบทไม่สามารถทํางานได้ปกติ จากปัญหาดังกล่าวนี
ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิต และเกิดภาวะยากจนในภาคครัวเรือนอีกด้วย จึงเป็ นทีมาของ
การวิจัยเพือเป็ นรูปแบบในการแก้ปัญหาอย่างยังยืนต ่อไป การวิจัยครั
งนี
เป็ นการวิจัยเชิงผสมผสาน
โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการวิจัยเชิงคุณภาพประสานกบการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกองพลพัฒนาที ๑ ั
ได้สร้างต้นแบบการนําโซล่าเซลล์มาผลิตกระแสไฟฟ้ ากระแสตรง ใช้กับเครื องสู บนํ
าบาดาล
ภายในหน่วย เพือนําผลทีได้ไปขยายผลใช้ในการแกปัญหาภัยแล้งซํ ้
าซากในเขตชุมชนพื
นทีชนบท
จังหวัดราชบุรี และทีอืน ๆ ต่อไป
จากการนําต้นแบบโซลาร์เซลล์มาใช้กบระบบประปาหมู ั ่บ้าน ณ หมู่ที ๓ ตําบลธรรมเสน
อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เพือแก้ปัญหาภัยแล้งซํ
าซากและปัญหากระแสไฟฟ้ าตกทีเกิดขึ
น
ในทุกปี พบว่า สามารถสูบนํ
าด้วยโซลาร์เซลล์ได้ประมาณ ๓๕,๐๐๐ – ๕๐,๐๐๐ ลิตรต่อ สามารถ
ประหยัดค่ากระแสไฟฟ้ าได้ประมาณ ๓๐,๐๐๐ – ๖๐,๐๐๐ บาทต่อปี ซึงประชาชนทีได้รับผลประโยชน์
ในครั
งนี
จํานวน ๒๑๒ ครัวเรือน ๖๕๙ คน
โซลาร์เซลล์ทํางานได้ดีทีสุ ดในหน้าร้อน มีราคาไม่แพงและใช้งานง่าย นอกจากนี
ยังเป็ นมิตรกบสิ ั งแวดล้อม และต้องการการบํารุงรักษาน้อยมาก ในอนาคตโซลาร์เซลล์ยิงมีแนวโน้ม
ราคาทีลดตําลง แต่จะมีประสิทธิภาพมากขึ
น ดังนั
นอนาคตการใช้โซลาร์เซลล์ในการแก้ไขปัญหา
ภัยแล้งซํ
าซากในชนบทจึงดูสดใส และเปี ยมไปด้วยความหวัง
abstract:
Abstract
Title : Research Project On Solar Cell Utilization For Village Water Supply System To
Solve Chronic Drought In Rural Community In Ratchaburi Province
Field : Science and Technology
Name : Maj.Gen. Jedsada Premnirundorn Course : NDC Class 59
In the rural areas of Ratchaburi province, severe chronic drought may last 2-4 months every
year. This problem has caused shortages of water for household consumption, agriculture and animal
husbandry. In addition, such areas also have voltage-drop problem, as a result of the high use of
electricity during daytime in the dry season. Without electrical power, the village water supply system
cannot pump underground water at about -60 meters to feed the system during daytime. This problem is
a major cause of low quality of life and household poverty in these villages. This research project is
aimed to find a sustainable solution to solve chronic drought in rural community in Ratchaburi province.
This research uses both qualitative and quantitative methods to analyze the data.
The researcher has installed solar cell to the village water supply system of moo 3 tambon
Thammasen, Photaram district, Ratchaburi province, to be the experimental model. The installation of
solar cell has successfully made the village water supply system to function properly. The solar cell
enables the system to supply about 35,000 to 50,000 liters of fresh water per day. It can also save about
)*,*** to +*,*** bahts of electrical cost per year. ,-, families, +./ people, benefit from the village
water supply system.
Solar cells perform most effectively in the summer. They are inexpensive and simple to
use. They are ecological and require minimal maintenance. In the future, they are expected to be even
more economical and efficient. Therefore, the future of solar cells in solving chronic drought in rural
areas is looking very bright and full of hope.