เรื่อง: ยุทธสาสตร์การสร้างความเป็นมืออาชีพของศาลชำนัญพิเศษเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนในอนาคต
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เจริญ ดวงสุวรรณ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นมืออาชีพของศาลช านัญพิเศษเพื่อรองรับ
ประชาคมอาเซียนในอนาคต
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นายเจริญ ดวงสุวรรณ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคการรับผู้ที่มี
ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาเป็นผู้พิพากษาในศาลช านัญพิเศษ และ ๒. เพื่อศึกษาแนวทาง
ก าหนดยุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นมืออาชีพของศาลช านัญพิเศษให้มีมาตรฐานสากลและเป็นที่
ยอมรับของประชาคมอาเซียนในอนาคต การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative
Research) ใช้วิธีการวิจัยเชิงพรรณนา โดยรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ จากแหล่งทรัพยากรสารสนเทศ
ต่างๆ ข้อมูลปฐมภูมิได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้เชี่ยวชาญด้านศาลช านัญพิเศษในอดีตหรือปัจจุบัน
ขอบเขตของการวิจัย เป็นการศึกษายุทธศาสตร์การสร้างความเป็นมืออาชีพของศาลช านัญพิเศษ โดย
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในยุทธศาสตร์
ความมั่นคง ด้านการสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมที่มีผลกระทบต่อศาลช านัญพิเศษ
การวิเคราะห์ปัญหาตามแนวยุทธศาสตร์ของ Bartlett Model การวิเคราะห์แนวทางการสร้างมืออาชีพ
ของศาลช านัญพิเศษ การวิเคราะห์ความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ น ามาเป็นปัจจัยในการ
วิเคราะห์เพื่อก าหนดเป็นยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นมืออาชีพของศาลช านัญพิเศษที่ผู้วิจัยเสนอเป็น
ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน
ผลการวิจัยซึ่งตอบวัตถุประสงค์การวิจัยทั้ง 2 ข้อดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ดังนี้
คือ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อ ๑ ปัญหาและอุปสรรคการสร้างความเป็นมืออาชีพของศาลช านัญพิเศษ
ได้แก่ ปัญหาด้านระบบการคัดเลือกและบรรจุผู้ช่วยผู้พิพากษา ปัญหาด้านการวางแผนอัตราก าลัง
ปัญหาด้านการจ าแนกต าแหน่งผู้พิพากษา ปัญหาด้านการโยกย้ายแต่งตั้ง ปัญหาด้านการสร้างความ
เชี่ยวชาญในศาลช านัญพิเศษ ปัญหาด้านการสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ และเพื่อตอบ
วัตถุประสงค์การวิจัยข้อ 2 แนวทางก าหนดยุทธศาสตร์การสร้างมืออาชีพของศาลช านัญพิเศษ 4
ยุทธศาสตร์ ได้แก่ยุทธศาสตร์1 การบริหารทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์2 การพัฒนาบุคลากรให้เป็น
มืออาชีพ ยุทธศาสตร์3 ส่งเสริมความก้าวหน้าในสายอาชีพ และยุทธศาสตร์4 การสื่อสารองค์กร
ศาลช านัญพิเศษ ข้อเสนอแนะในการวิจัย ประกอบด้วย ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ได้แก่ ปรับปรุง
โครงสร้างศาลยุติธรรมใหม่เป็นระบบแท่งตามลักษณะคดี วางแผนพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ
ตั้งกองผู้ช่วยในศาลช านัญพิเศษ ตั้งอนุกรรมการตุลาการเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ศาลช านัญพิเศษ
และข้อเสนอแนะระดับปฏิบัติการ ได้แก่ จัดท าบัญชีระบบอาวุโสเป็น 2 ระบบ วางแผนอัตราก าลัง
และจ าแนกต าแหน่งผู้พิพากษาศาลช านัญพิเศษ ก าหนดหลักเกณฑ์การแต่งตั้งโยกย้าย ทบทวนและ
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ให้สอดรับกับการบริหารงานบุคคลของศาลยุติธรรมตามโครงสร้างใหม่
abstract:
Abstract
Title Strategy of Creating Professionalism of the Specialized
Court for ASEAN Community in the Future
Subject Strategy
Researcher Mr. Charoen Duangsuwan Program NDC Batch 59
The objectives of this research were 1. To study the problems and
obstacles of procuring people with specialized expertise to be a judge in the
specialized court and 2. To study guidelines for establishing a strategy to create the
professionalism of the specialized court to meet the international standards
acceptable by the ASEAN Community. This research was a qualitative research paper
conducted by using descriptive research methods. The secondary data was collected
from various sources of information. The primary data was collected by conducting
in-depth interviews with specialized court experts in the past or present. The research
scope was a strategic study of the professionalism of the specialized courts by
analyzing the environment both inside and outside the country, the 20-year national
strategic framework on security for building confidence in the judicial process that
affects the specialized courts, Bartlett Model's strategic problem analysis, analysis of
specialized court professionalism development guidelines, and analysis of opinion
from expert interview were used as factors in analysis to determine the
professionalism development strategy for specialized courts proposed by the
researcher as a 4-sided strategy.
The results of the research responded to the mentioned 2 research
objectives above could be summarized as follows: For objective 1. The problems
and obstacles to the specialized court professionalism were the problems with the
judge assistant selection and procurement system, the staffing planning, classification
of judges, migration appointment, creating expertize in in specialized court, and
profession advancement, For objective 2, Guidelines for the establishment of a
specialized court professionalism development consisted of 4 aspects as follows: 1.
Human resources management, 2. Professionalism development, 3. Profession
advancement promotion, and 4. Specialized court organization
communication. Research recommendations included policy recommendations were
the improvement of the new court structure to be a bar system based on litigation,
profession advancement planning and the development of specialized court judge
assistant tribunal, and judiciary subcommittee to propel specialized court strategy,
establishment of a special case management organization for the training or selection 2
of judges who will be in the specialized court. Operational recommendations were
the establishment of 2 seniority accounting systems, staffing planning and specialized
court judge classification, establishment of the criteria for the appointment, review
and improve the rules and regulations to be in line with the new judicial
administration structure.