เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการศึกษาเพื่อรองรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกองทัพเรือในทศวรรษหน้า
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี ก่อเกียรติ ปั้นดี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษา เพื่อรองรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกองทัพเรือ
ในทศวรรษหน้า
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลเรือตรี ก่อเกียรติ ปั้นดี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
เอกสารวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษา เพื่อรองรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ของกองทัพเรือในทศวรรษหน้านี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินการ
โครงการการศึกษาของกองทัพเรือในปัจจุบันและวิเคราะห์ปัจจัยข้อจ ากัดของการด าเนินการโครงการ
ศึกษาของกองทัพเรือ เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการศึกษา เพื่อรองรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ของกองทัพเรือ ให้เหมาะสมกับบริบทในทศวรรษหน้า โดยมีขอบเขตการวิจัยที่เน้นการวิจัยเฉพาะ
กระบวนการและรูปแบบในการด าเนินโครงการศึกษาของกองทัพเรือ ตั้งแต่ขั้นตอนการจัดท า
โครงการจนถึงการประเมินโครงการ โดยข้อมูลเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ที่น ามาใช้ในการวิจัยครั้งนี้
จะเป็นข้อมูลในส่วนที่สามารถที่เปิดเผยได้เท่านั้น กา รวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)อันประกอบด้วยกระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง
กับการบริหาร และพัฒนาก าลังพลของกองทัพเรือ (In-depth Interview) การใช้แบบสอบถามผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องในการเสนอโครงการศึกษาและการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่ากองทัพเรือมี
กระบวนการจัดท าโครงการศึกษาตามหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แบ่งเป็น ๓ ขั้นตอนได้แก่ ๑)
ขั้นการพิจารณาจัดท าโครงการฯ ๒) ขั้นการด าเนินโครงการฯ ๓) ขั้นการติดตามและประเมินผล
โครงการฯ และมีแนวทางการพัฒนาในอนาคตที่ได้น าเอาเป้าหมายการพัฒนาก าลัง มาใช้เป็นกรอบใน
การจัดสรรงบประมาณ การประเมินก าลังพลตามขีดสมรรถนะ มีข้อจ ากัดในการก าหนดเป้าหมาย การ
พัฒนาก าลังพลยังไม่ครอบคลุมความต้องการในอนาคต ขาดการบูรณาการ ระบบขีดสมรรถนะที่
น ามาใช้ยังขาดความสมบูรณ์ ขาดการน าเอาสถิติ และการประเมินผลมาใช้ในการพิจารณาโครงการ
ศึกษา ส าหรับแนวทางการพัฒนาควรมีการทบทวนเป้าหมายการพัฒนาก าลังพลให้ครอบคลุมความ
ต้องการในอนาคต น าเอาผลการประเมินมาใช้ประกอบการพิจารณาโครงการศึกษา ควรมีการพัฒนา
ระบบติดตามโครงการศึกษาโดยใช้ระบบสารสนเทศและควรมีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ศึกษา นอกจากนั้นควรมีการพิจารณาโครงการศึกษาในเชิงบูรณาการ การคัดเลือกคนเข้ามาใน
กองทัพควรพิจารณาทักษะทางด้านภาษาร่วมด้วย รวมทั้งมีการจัดท าแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล
เพื่อใช้พัฒนาก าลังพลในหน่วยด้วยข
abstract:
ABSTRACT
Title Education Development Approaches to Enhance Navy Human Resource
in the Next Decades
Field Military
Name Rear Admiral Korkiat Pandee Course NDC Class 59
The objective of this research is to study the current navy education
project and its result to look for any constraints in implementing the project in order
to be able to recommend eligible approaches for navy education development to
enhance navy human resources according to circumstances in the next decade. And
the research scope is only on processes and methods of the navy education project
management which involves all steps from the first to last. However, all the
information and strategy being used are not those of confidentiality.
This is a quality research consisting of thorough studies and analysis of
information in navy human resource administration and development, together with
the use of questionnaires and in-depth interview with concerning people. The result
shows that the Navy has necessary processes in making education project and it is
divided into three main parts : consideration, implementation, and evaluation. The
navy also has future human resource development framework which is used for
budget allocation by using competency assessment but constraints in determining
targets usually occur. In addition, navy human resource development doesn’t cover
future requirement and lacks working process integration while competency
evaluation system doesn’t work effectively as expected since the result has never
been put into consideration when making the education project.
The Navy should make a review on human resource development plans
and make some important changes to cover future needs such as using close
integration and competency evaluation result as priority factors in education project
consideration, high information technology in evaluating both the project itself and
its result. Furthermore, English skills ought to be one of essential qualifications in the
recruitment of future human resource, and individual navy personnel development
plan is also significant.