เรื่อง: แนวทางการจัดระบบความสัมพันธ์ของการบริหารราชการที่พึงประสงค์กับการปฏิรูปประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว สุรุ่งลักษณ์ เมฆะอำนวยชัย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการจัดระบบความสัมพันธของการบริหารราชการที่พึงประสงคกับการ
ปฏิรูปประเทศ
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย นางสาวสุรุงลักษณ เมฆะอํานวยชัย หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
การพัฒนาระบบการบริหารราชการแผนดิน ประเด็นสําคัญประการหนึ่งคือความชัดเจน
ของขอบเขตอํานาจหนาที่ของราชการบริหารสวนกลาง สวนภูมิภาค และทองถิ่น ซึ่งปจจุบันพบวาอาจ
ยังมีความ ไมชัดเจนและมีขอจํากัดบางประการที่เกิดขึ้นจากการบริหารราชการในพื้นที่ การศึกษา
เพื่อกําหนดรูปแบบการจัดความสัมพันธระหวางราชการบริหารสวนกลาง สวนภูมิภาคและสวนทองถิ่น
ใหมีความชัดเจนเหมาะสมกับการปฏิรูปประเทศและการพัฒนาประเทศ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา
ระบบการบริหารราชการที่เปนอยูในปจจุบันและสภาพปญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งแนวทางการบริหาร
ราชการที่ดีของตางประเทศ เพื่อนํามาจัดทําขอเสนอแนวทางในการจัดระบบความสัมพันธของการ
บริหารราชการทั้ง ๓ สวนดังกลาว โดยการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณเชิงลึก
ของผูทรงคุณวุฒิ เพื่อใหไดขอเสนอแนวคิดในการกําหนดรูปแบบการพัฒนาระบบบริหารราชการ
แผนดินที่เหมาะสมตอการปฏิรูประบบราชการในอนาคต
ผลการวิจัยพบวาผูทรงคุณวุฒิสวนใหญมีแนวคิดเกี่ยวกับการจัดความสัมพันธระหวาง
ราชการบริหารสวนกลาง สวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นวาภาครัฐควรลดบทบาทหนาที่โดยทําเฉพาะ
ภารกิจพื้นฐาน โดยสวนกลางมีภารกิจในการกําหนดนโยบายและการกํากับดูแลเทาที่จําเปนเทานั้น
และใหระดับพื้นที่มีอํานาจรับผิดชอบจัดทําบริการสาธารณะเองทั้งหมด ซึ่งการจัดโครงสรางหนวยงาน
ในสวนกลาง สวนภูมิภาคและ สวนทองถิ่น ไมจําเปนตองมีรูปแบบตายตัว อาจจัดไดหลากหลาย
รูปแบบขึ้นอยูกับบริบทของพื้นที่ โดยรูปแบบนี้เปนการบริหารราชการที่เนนระดับภูมิภาคโดยอาจให
จังหวัดมีฐานะเทียบเทากรมเปนศูนยรวมการสั่งการในพื้นที่ หรือเปนรูปแบบจังหวัดจัดการตนเองที่ให
พื้นที่สามารถบริหารจัดการไดเบ็ดเสร็จในเขตพื้นที่ของตน
ทั้งนี้ ผูวิจัยมีขอเสนอวาในระยะสั้นควรยังคงระบบการบริหารราชการแผนดินไว 3 สวน
เชนในปจจุบัน โดยตองจัดภารกิจและขอบเขตการรับผิดชอบระหวางสวนกลาง สวนภูมิภาค และ
ทองถิ่นใหมีความชัดเจน เพื่อลดปญหาการทํางานซ้ําซอนในพื้นที่ สวนระยะกลางถึงระยะยาวเมื่อ
ภาคประชาชนมีความเขมแข็ง ระดับพื้นที่ควรเปนหนวยหลักในการจัดบริการสาธารณะในทุกดาน
ใหแกประชาชน ขณะที่สวนกลางเนนการกํากับดูแลและทําหนาที่ใหการสนับสนุนที่จําเปนแก
หนวยงานพื้นที่เทานั้น พรอมทั้งนําแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหมมาประยุกษใช ทั้งการ2
บริหารกิจการบานเมืองแบบรวมมือกัน (Collaborative Governance) การบริหารราชการแบบมี
สวนรวม (Participatory Governance) การสงเสริมความรูความเขาใจใหกับประชาชนและทุกภาค
สวน การสรางกลไกการตรวจสอบการบริหารงานในระดับพื้นที่โดย ภาคประชาชน รวมทั้งการ
พัฒนากลไกการทํางานรวมกันของหนวยงานสวนกลาง ภูมิภาคและระดับทองถิ่น โดยใชรูปแบบการมี
ขอตกลง/สัญญาความรวมมือ/สัญญาจางการทํางาน
abstract:
ก
Abstract
Topic The Relationship of optimal Administration to the Country Reform
Character Politics
Miss Surungluk Meakhaumnouichai Ndc 57
The main point of Public Administration is to clarify the areas of power
between the central – regional – local administration which is currently a complex
issue. This is the reason why the study demonstrates the model of central – regional
– local management systems in Thailand, as well as emphasizing the challenges
faced and leading practices. This study brings points of view for implementation plans
of government agencies, specifically models of central – local relation. The method
to achieve this, as quality research, is via in-depth interviews.
The results show that the public sector, in central – regional – local
administration and cooperative management, should be responsible mainly for
primary functions of the states. The central government is responsible for policy
making and regulating. Public services are handled by regional and local government.
The organizational structures of central – regional – local government can be flexible
depending on their context and in regional administration, provinces act as a
department of self-management in their respective area.
In the short term, the researcher suggests that the public administration
should be level in three parts which are central, regional and local administration.
However, the responsibility among the central – regional – local governments should
be clear. In the middle and long term, the local government should manage all
public services, and the central government should act as a regulator and facilitator 2
together with adapting new public management such as collaborative governance,
participatory government, knowledge promotion to people, district inspections and
investigation and central – regional–local cooperative management development by
commitment/agreement/employment contract.