เรื่อง: ปัญหาโรคนอนกรนหยุดหายใจกับการให้บริการในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สุรศักดิ์ พุทธานุภาพ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง ปัญหาโรคนอนกรนหยุดหายใจกับการให้บริการในหลักประกันสุขภาพ
ถ้วนหน้า
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั พลตรีสุรศักด์ิ พุทธานุภาพ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57
โรคนอนกรนหยุดหายใจเป็ นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย ส่งผลต่อการท างาน คุณภาพ
ชีวิต และสุขภาพโดยรวม นอกจากน้ียงัมีผลต่ออุบตัิเหตุที่เพิ่มมากข้ึนอนั เป็นการเพิ่มค่าใชจ้่ายใน
การรักษาพยาบาล วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาโรคนอนกรนหยุดหายใจและผลกระทบ
ตลอดจนอุบัติการณ์ของโรคในคนไทย เพื่อศึกษาค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค ศึกษาแนวทางในการ
ให้บริการผู้ป่ วยในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณา
ให้บริการผู้ป่ วยที่มีโรคนอนกรนหยุดหายใจในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยมีขอบเขตการ
วิจัยจ ากัดเฉพาะโรคภาวะหยุดหายใจในขณะนอนที่มีผลกระทบต่อผู้ป่ วย และศึกษาเฉพาะใน
ผู้บริหารและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องถึงความเป็ นไปได้ในการก าหนดกฎเกณฑ์การให้บริการ
ภาวะนอนกรนหยุดหายใจขณะนอนแก่ผู้ป่ วยในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเป็ นการ
ศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ซ่ึงศึกษาความชุก ผลกระทบของโรคนอนกรนหยุดหายใจท้ังในและ
ต่างประเทศ (เป็ นข้อมูลทุติยภูมิ) ตามวารสารที่ตีพิมพ์ สัมภาษณ์ผู้บริหารโรงพยาบาล หน่วยงาน
สปสช. และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการนอนหลับ ตลอดจนวิเคราะห์ข้อมูลผลกระทบค่าใช้จ่ายใน
การให้บริการ หรือความสูญเสียที่เกิดจากโรคนอนกรนหยุดหายใจเป็ นตัวเลข จากการศึกษาความ
ชุกของโรคพบว่า ในสหรัฐอเมริกาพบในผู้หญิงร้อยละ 2 และในผู้ชายร้อยละ 4 ในประเทศไทยพบ
ก าลังพลที่ปฏิบัติงานใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ร้อยละ 4.9 การตรวจผู้ป่ วยด้วยเครื่องตรวจการนอน
หลับแบบพกพาและการให้บริการรักษาด้วยเครื่องอัดอากาศแรงดันบวกเฉพาะในผู้ป่ วยที่มีภาวะ
หยุดหายใจขณะหลับระดับรุนแรงจะมีค่าใช้จ่ายต่อปี ประมาณ 300 - 400 ล้านบาท แต่สามารถลด
ค่าใช้จ่ายที่เป็ นผลกระทบจากการนอนกรนหยุดหายใจได้หลายพันล้านบาท จึงน าเสนอ สปสช.
เพื่อพิจารณาให้การรักษาผู้ป่ วยนอนกรนหยุดหายใจที่อยู่ในระดับรุนแรงการวิจยัน้ีพบว่าโรคนอน
กรนหยุดหายใจมีผลกระทบต่อผู้ป่ วยมาก โดยพิจารณาในกลุ่มที่เป็ นรุนแรง แม้มีค่าใช้จ่ายสูงหากมี
การบริหารจดัการที่เหมาะสมสามารถลดค่าใชจ้่ายท้งัการรักษาและผลกระทบจากโรคดงักล่าวได้
มาก จึงเป็ นโครงการที่มีความคุ้มค่าในการด าเนินการ
abstract:
ABSTRACT
Title Management of Obstructive Sleep Apnea problem and universal health
scheme provider.
Field Social-Psychology
Name Maj.Gen.Surasak Buddhanuparp Course NDC Class 57
To find out prevalence & impact of OSA on health, to figure out the medical
Expense in OSA of treated and untreated patient, to find out the proper guideline management of
OSA patient in universal health scheme, deliver data to universal health scheme authority to
implement this health scheme for OSA patients.
To find out the prevalence & impact of OSA patient in medical journal, to interview
the administer of hospital and Universal health scheme policy maker, about cost-effective was of
program, to interview sleep specialist about the guideline of management, to collect and analysis
all data, to summarise and propose to related health authority for implement this program.
Prevalence of OSA in USA is 2% in women and 4% in men and 4.9% in Thai
military officer. The Expense for remedy impact of OSA is approximately many billion baht,
mean while the expense for diagnosis and treatment of OSA are about 300 – 400 million baht. It
is the high cost, for each hospital to manage this group of patients so it should be switch to the
universal health scheme expense.
OSA is among the disease that policy maker have to provide treatment’s guideline
for OSA patient in universal health scheme. Because the cost of diagnosis and treatment are less
than expense to remedy the consequence of untreated OSA patients.