เรื่อง: แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลตำรวจ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี สุรพล เกษประยูร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่องแนวทางการพฒั นาคุณภาพชีวิตของผปู้่วยโรคขอ
้
เข่าเสื่อมในโรงพยาบาลตา รวจ
ลักษณะวิชา สังคม จิตวิทยา
ผู้วจิยั พลต ารวจตรี สุรพล เกษประยูร หลักสูตรวปอ. รุ่นที่ 57
งานวิจยัน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้ป่ วยที่ได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมและ
เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้ป่ วยที่ได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อม ตามปัจจัยด้าน อายุ เพศ อาชีพ ระดับการศึกษา
รายได้สถานภาพสมรส ดัชนีมวลกาย และปัจจัยด้านโรค ได้แก่ ระยะเวลาหลังผ่าตัด โรคประจ าตัว
ความสามารถในการท ากิจกรรรมต่างๆในชีวิตประจ าวัน ความสามารถในการใช้งานของข้อเข่าหรือข้อเข่า
เทียม และความรู้สึกพึงพอใจต่อการรักษาข้อเข่าเสื่อม วิธีด าเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยเชิงปริ มาณ (
Quantitative Research )โดยเก็บ ข้อมูล ในผู้ป่ วยโรคข้อเข่าเสื่อมอายุ 55 ปีข้ึนไปที่ไดร้ับการรักษาระหว่าง
เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2557ถึงเดือน มีนาคม พ.ศ.2558 ที่ตึกผู้ป่ วยนอกศัลยศาสตร์ออร์โธ- ปิ ดิกส์
โรงพยาบาลต ารวจ จ านวน 148 ราย แบ่งเป็ น ราย แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่รักษาด้วยวิธีไม่ผ่าตัด
ด้วยการใช้ยาและกายภาพบ าบัด ( conservative treatment ) จ านวน 74 ราย และกลุ่มที่รักษาด้วยวิธีผ่าตัด
เปลี่ยนข้อเทียมและกายภาพบ าบัด ( total knee arthroplasty ) จ านวน 74 ราย โดยใช้แบบประเมินคุณภาพ
ชีวิต SF-36 และ EQ 5D-3L ผลที่ได้พบว่า กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีผ่าตัดมีค่า utility หรือคุณภาพชีวิต
ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยผลที่ได้รับอาจน าไปสู่งานวิจัยในระดับสูง
ข้ึนเพื่อหาความคุม้ค่าของการรักษา ( cost-effective analysis) ต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title: Utility development of Osteoarthritic patients in Police General Hospital
Field : Social –Psychology
Name: Pol. Maj. Gen. SURAPHOL KESPRAYURA Course NDC. 57
Knee osteoarthritis become one of the most common degenerative disease
worldwide. In USA, the number of the patient increases 15% annually and in
Thailand the increasing rate is about 34.5-45.6%. The risk factors consist of aging,
sport activities, osteoporosis, occupation, obesity, previous knee injury etc.
Orthopedic surgeons and researchers make an effort to find the cause of the disease
and try to reduce the incidence. The objectives of this study need to compare the
utility outcomes between conservative patients and total knee replacement patients
by using SF-36 and EQ5D-3L questionnaire, to optimize the cost –benefit treatment.
Two groups of 74 patients will be questioned by well-trained staff of PGH and the
data will be collected and evaluated by T-test due to the paramedic pattern of the
data. The outcome of the study revealed the higher utility value in the total knee
arthroplasty group than conservative group significantly ( p<0.001 ). The
conservative group had higher incidence of gastrointestinal adverse effect and lower
utility benefit.