Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบเชื่อมต่อข้อมูลและสั่งการในการป้องกันภัยทางอากาศของกองทัพบก เพื่อมุ่งไปสู่การปฏิบัติการป้องกันภัยทางอากาศร่วมที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สุรใจ จิตต์แจ้ง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบเชื่อมตอขอมูลและสั่งการในการปองกันภัยทาง อากาศของกองทัพบก เพื่อมุงไปสูการปฏิบัติการปองกันภัยทางอากาศ รวมที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย พันเอก สุรใจ จิตตแจง หลักสูตรวปอ. รุนที่๕๗ ตําแหนง รองผูบัญชาการกองพลทหารปนใหญตอสูอากาศยาน วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษา หลักการ ทฤษฎี และแนวคิดที่เกี่ยวของกับการ ปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO : Network Centric Operation) ในการปองกันภัยทาง อากาศ โดยพิจารณาจากสภาพแวดลอมในการปองกันภัยทางอากาศรวม และ การปองกันภัยทาง อากาศของกองทัพบก โดยนํามาวิเคราะห และเสนอแนวทางในการพัฒนา ระบบเชื่อมตอขอมูล และสั่งการในการปองกันภัยทางอากาศของ กองทัพบก เพื่อมุงไปสูการปฏิบัติการปองกันภัยทาง อากาศรวมที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง การดําเนินการวิจัยในครั้งนี้ใชการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งประกอบดวยการวิจัยแบบพรรณนา (Descriptive Research) และการวิจัย แบบวิเคราะห (Analytical Research) โดยใชขอมูลปฐมภูมิและขอมูลทุติยภูมิที่รวบรวมมาศึกษา แลวนํามาวิเคราะห เพื่อพิจารณาแนวทางในการดําเนินการตอ ระบบเชื่อมตอขอมูลและสั่งการ ในการปองกันภัยทางอากาศของกองทัพบก เพื่อกําหนดเปนแนวทางในการพัฒนาตอ ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย แนวทางการพัฒนาระบบเชื่อมตอขอมูลและสั่งการใน การปองกันภัยทางอากาศของกองทัพบก เพื่อมุงไปสูการปฏิบัติการปองกันภัยทางอากาศรวมของ กองบัญชาการกองทัพไทย และทุกเหลาทัพ ในการใชเครือขายเปนศูนยกลางนั้น สามารถใชเปน แนวทางในการพัฒนาทั้งในดานยุทโธปกรณของ หนวยบัญชาการปองกันภัยทางอากาศกองทัพบก ใหมีความพรอมในการปองกันภัยทางอากาศไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเปนแนวทางในการ แกปญหาในปจจุบันเกี่ยวกับความพรอมในการเชื่อมตอขอมูลและสั่งการในการปองกันภัยทาง อากาศของกองทัพบกทั้งในสวนของ ศูนยตอสูปองกันภัยทางอากาศกองทัพบก และ กองพลทหาร ปนใหญตอสูอากาศยาน โดยพิจารณาจากความตองการของหนวยใช และผลสัมฤทธิ์ที่ตองการ ในการปองกันภัยทางอากาศรวม นอกจากนี้ยังเปนแนวทางในการพัฒนากําลังพลในระบบควบคุมข และแจงเตือนใหมีความพรอมในการรองรับเทคโนโลยีสมัยใหมที่เปลี่ยนแปลงไปในการใช เครือขายเปนศูนยกลางไดอีกดวย

abstract:

Abstract Title Guidance to improve joint air defense network and air command and control system of Royal Thai Army aimed to Network Centric Operations in Air defense. Subject Science and Technology Researcher COL SurajaiJittjang Course: NDC 57 PositionDeputy Commanding General, the Antiaircraft Artillery Division, the Royal Thai Army The objective of this research is to study principles, theories and concepts related to Network Centric Operations in Air defense. This research will consider the operational environment of joint air defense and army air defense in order to analyze as well as recommend guidance to improve joint air defense network and air command and control system of the Royal Thai Army aimed to Network Centric Operations in Air defense. This research is considered as qualitative research consisting of descriptive and analytical research. The collective primary and secondary data is used and analyzed in order to set guidance to improve joint air defense network and air command and control system of the Royal Thai Army and finally define the process of development. The outcome of this research, Guidance to improve joint air defense network and air command and control system of the Royal Thai Army aimed to Network Centric Operations in Joint Air defense of the Royal Armed Forces and its corps, can be used as a valuable guidance to improve armament and equipment of Army Air Defense Command, the Royal Thai Army in order to be prepared in air defense operations effectively. This is the solution to the problem of readiness in Army air defense network and air command and control system of Army Air Defense Operations Command and Antiaircraft Artillery Division by considering the needs of air defense units and the desirable outcome of joint air defense operations. Moreover, this research will suggest procedures for personnel development in air control and warning system so that they will be ready for ongoing changes in technology in Network Centric Operations in Air defense.