Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การปรับปรุงสิทธิประโยชน์ในการเบิกจ่ายอุปกรณ์สื้นเปลืองในการผ่าตัดผ่านกล้องทางศัลยกรรม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สุทธจิต ลีนานนท์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การปรับปรุงสิทธิประโยชน์ในการเบิกจ่ายอุปกรณ์สินเปลืองในการผาตัดผ ่ าน ่ กล้องทางศัลยกรรม ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย ู พ.อ. สุทธจิต ลีนนานนท์ หลักสูตร วปอ. ร่นที ุ )* การผ่าตัดผ่านกล้อง เคยถือเป็ นการผ่าตัดที.มีค่าใช้จ่ายสูงเมื.อเทียบกบการผ ั ่าตัดแบบ ดังเดิมหรือแบบเปิ ด (conventional หรือ open surgery) แต่ประโยชน์ที.ได้รับคือแผลเล็ก เจ็บตัวน้อย และสามารถกลับไปทํางานได้เร็วกวา ในด้านสวัสดิการในการรักษาพยาบาลของภาครัฐมีหลายระด ่ ับ ได้แก่ สิทธิหลักประกนสุขภาพแห ั ่งชาติ สิทธิหลักประกนสังคม และสิทธิข้าราชการ การศึกษาวิจัย ั ในครังนีนีเพื.อหาหนทางที.จะทําให้ศัลยแพทย์สามารถผ่าตัดผ่านกล้องได้โดยมีค่าใช้จ่ายที.คุ้มค่า ที.สุ ด และมีมาตรฐานการผ่าตัดไปในทิศทางเดียวกันเพื.อให้ประชาชนทุกระดับสามารถเข้าถึง การบริการผาตัดด้วยกล้องได้ และหาแนวทางในการปรับปรุงสิทธิประโย ่ ชน์ที.ได้รับจากสิทธิต่างๆ การศึกษาวิจัยในครังนีพบว่า ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดผ่านกล้องมิได้เป็ นการผ่าตัดที.มี ค่าใช้จ่ายสูง หลังจากปรับอุปกรณ์สินเปลืองและวิธีผ่าตัดให้เหมาะสมแล้วค่าใช้จ่ายที.ใช้พอๆ กนหรือถูกกว ั าค่ ่าชดเชยที.ได้รับจากหลักประกนสุขภาพแห ั ่งชาติยกเว้นการผาตัดไต,ไส้เลื.อนและ ่ ลําไส้ใหญ่ ปัจจัยสําคัญที.จะทําให้ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดถูกลงได้แก่ การฝึ กอบรมอย่างเป็ นระบบ การรวบรวมข้อมูลอุปกรณ์สินเปลือง ประชุม จัดทําคู่มือและเผยแพร่ความรู้นีอยางต ่ ่อเนื.อง เพื.อให้ การผาตัดและการใช้อุปกรณ์สิ ่ นเปลืองไปในทิศทางเดียวกน ั การศึกษานีสนับสนุนให้ยกเลิกการปิ ดกันในการเข้าถึงการรับบริ การเนื.องจากได้ ชีให้เห็นว่าการผ่าตัดผ่ากล้องมิได้เป็ นการผ่าตัดค่าใช้จ่ายสูงอีกต่อไป โดยหันมาใช้ระบบความ เชี.ยวชาญทางศัลยปฏิบัติร่วมกับการใช้ระบบตรวจสอบทังภายในและภายนอก (credentialing system plus internal and external audit) เพื.อที.รัฐจะได้จ่ายน้อยลงและประชาชนเข้าถึงการบริการ ได้ทัวถึงมากขึ . น

abstract:

ABSTRACT Title : Improvement of privileges in reimbursing laparoscopic surgical instruments Field : Economics Name : Col.Sutdhachit Linananda Course NDC Class 57 Laparoscopic surgery was considered to be higher cost compare to conventional or opened surgery. Their benefits are less pain, small incisions and early return to work. Thai government as the payer has 3 major welfare, National health security office (NHSO), National social security, and State employee welfare. This article finds out the way for laparoscopic surgeons to do their cost-effectiveness surgery, do the same standard practice, to improve privilege of state welfares. From this study, laparoscopic surgery is no more high-cost surgery. After adjusting some instruments and techniques, most of the procedures cheaper or equal to the conventional surgery except hernia repair, nephrectomy and colectomy. The important mechanisms that bring their costs down are training system, collection data of instruments used, producing of handbooks and continuous distribute of this knowledge to the group of surgeons for the same standard practicing. Because it is not high-cost surgery, this study supports cancelling of the government strategies that resist people to access to this technique. The more effective method is to engage surgeon credentialing system plus internal and external audit. So people have more access and the payers pay less.