Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางในการจัดท ายุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาไทย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาวิวัฒนาการแนวคิดการปฏิรูปการศึกษาของ ประเทศไทย สภาพและปัญหาการจัดการศึกษาและแนวทางในการจัดท ายุทธศาสตร์การปฏิรูป การศึกษาของประเทศไทย ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของเนื้อหา ศึกษาวิวัฒนาการแนวคิดการ ปฏิรูปการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการจัดการศึกษาปัจจุบันและ สังเคราะห์แนวทางในการจัดท ายุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า มีสภาพและปัญหาการจัดการศึกษาทั้ง ด้านบริหารงานบุคคล ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ และด้านบริหารทั่วไป มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การปฎิรูป การศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียน การการสอน และด้านการจัดการ มีแนวทางในการจัดท า ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาไทยดังนี้ ยุทธศาสตร์ด้านการเรียน (Learning) การพัฒนาสื่อ/ต ารา/ นวัตกรรม โดยการผลิตสื่อ online/offline การใช้ Social media เพื่อการศึกษา และจัดระบบ ป้องกัน web อันตราย ปรับปรุงระบบการประเมินผล O-net Admission น าผลการสอบมาใช้พัฒนา คุณภาพการศึกษา และใช้เกณฑ์คัดเลือกเน้น Competency based ปฏิรูปหลักสูตรทุกระดับ/สาขา โดยการใช้ Competency based รื้อบทบาทสถานศึกษาด้านวิชาการ โดยการใช้ Academic authority ศูนย์การศึกษาชุมชน ยุทธศาสตร์ด้านการสอน (Teaching) พัฒนาวิธีการจัดการเรียนรู้ (บทบาทครู) โดยเน้นบทบาท Facilitator Motivation and Inspiration Coaching ปรับแนวทางการจัดสรรครู แผนอัตราก าลังครู และจัดท า Teacher mapping รวมทั้งจัดระบบค่าตอบแทนตามผลงาน ปฏิรูป การเข้าสู่การประกอบวิชาชีพครู (มาตรฐานวิชาชีพ) ปรับ พรบ. สภาครูฯ ปรับรื้อระบบการผลิตครู ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการ (Management) พัฒนา ICT ทางการศึกษา โดยใช้ LMS เพื่อการ บริหารจัดการเน้น E-Learning และ Media Skill ปรับระบบงบประมาณ และการประกันคุณภาพ โดยใช้บัตรคุณภาพชีวิต QL (Quality Life Card) ปรับค่าใช้จ่ายรายหัว และให้ชุมชนมีบทบาทในการ ประเมินคุณภาพ ปฏิรูประบบการบริหารงานบุคคล โดยปรับให้ครูเป็นข้าราชการส่วนภูมิภาค และ ครูเก่ง/ขาดแคลนสอนได้มากกว่า 1 แห่ง รื้อวิธีการกระจายอ านาจทางการศึกษา กลยุทธ์ในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาไทย กระทรวงศึกษาธิการควรประกาศนโยบายและแนว ทางการปฏิรูปการศึกษาให้ชัดเจน โดยมอบหมายให้องค์กรหลักที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาแต่ละ ระดับและประเภทร่วมกัน จัดท ายุทธศาสตร์ (Roadmap) ภาพรวมของการปฏิรูปการศึกษาแต่ละ หน่วยงานน าไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง พร้อมทั้งสร้างกลไกการก ากับติดตามและประเมินผล

abstract:

Abstract Title : Strategic Approach towards the Education Reform in Thailand Field : Socio-psychology Name: Somsak Donprasit Course NDC Class 57 This study aimed to analyze the evolution of education reforms in Thailand in terms of current situations, problems, a nd approaches for the strategy making. It included a historical approach to define paths of the reform and some of related factors that leaded to particular approach of the reform by a survey and indebt interviews with senior experts and people who got involved in the process. It found out that the current situation can be observed from four aspects namely personnel administration, academic support, budgeting, and general administration. To formulate the strategic approach, it started by aiming to underpin the transformation of 1. learning, 2. teaching, and 3. management. There are a couple of mechanisms to inspire learners to be self- directed through competency- based assessment, whereas digital media (off/online) and social media played critical roles on student learning. Teaching strategy included the role changing of teachers to be facilitator motivated and inspiration coaching, while the overhauling of teacher deployment, mapping, and compensation served as critical measures towards this strategic move. Finally, strategic management called for the improvement ICT in education such as efficient LMS for E-Learning and Media Skill, new budgeting for education, Quality Life Card (QLC), and community role on teachers’ performance assessment. All of these approaches would be orchestrated by the Ministry of Education through the reform policy statement, as well as the strategic roadmap that indicated clear-cut actions of the policy implementation by each stakeholders with monitoring and evaluating process.