เรื่อง: การประเมินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก : บทเรียนโครงการบูรณาการระดับชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วีรวุฒิ อิ่มสำราญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การประเมินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก : บทเรียนโครงการบูรณาการ
ระดับชาติ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้ท าวิจัย นายวีรวุฒิ อิ่มส าราญ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57
การวิจัยเรื่อง การประเมินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก : บทเรียนโครงการบูรณาการ
ระดับชาติฉบับนี้จัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการด าเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็ง
ปากมดลูก 76 จังหวัด เนื่องจากโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นโครงการระดับชาติ มีความ
ร่วมมือกันระหว่างหลายภาคส่วน ตั้งแต่ระดับชุมชนจนถึงระดับกระทรวง ได้ด าเนินการมาเป็นเวลา
10 ปีแล้ว มีขั้นตอนการด าเนินการที่ซับซ้อนและใช้งบประมาณในการด าเนินงานสูง
ผลการศึกษา พบว่าการด าเนินงานในช่วงปี พ.ศ. 2553 – 2557 มีการให้สตรีที่มีอายุ
ตั้งแต่ 30 – 60 ปี มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลใกล้
บ้านทุกๆ 5 ปี วิธีที่ใช้ในการคัดกรองคือ Pap Smear หรือ VIA โดยตั้งเป้าหมายจ านวน 9,577,840
ราย ท าการคัดกรองได้จ านวนทั้งสิ้น 8,498,985 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.74 เมื่อพิจารณาเฉพาะราย
ใหม่คือ สตรีที่ได้รับการคัดกรอง 1 ครั้งใน 5 ปี พบว่าท าได้ 5,164,751 ราย คิดเป็นร้อยละ 53.92 ผล
การด าเนินการมีความแตกต่างกันใน 76 จังหวัด ตั้งแต่จังหวัดที่ท าได้สูงสุดคือร้อยละ 91.80 ถึงต่ าสุด
คือ ร้อยละ 26.02 มีการพัฒนาการระยะเวลาด าเนินการคัดกรองที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ จาก 41.65 วัน ในปี
พ.ศ. 2553 เหลือเพียง 25.76 วัน ในปี พ.ศ. 2557 ปัญหาที่พบจากการประเมินคือ สตรีกลุ่มเป้าหมาย
ที่ได้รับการคัดกรองในบางพื้นที่ยังมีจ านวนที่น้อย ข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ในกรณีที่พบผลผิดปกติยังขาด
ข้อมูลในการส่งต่อและการรักษา จากผลการส ารวจ พบว่า แต่ละหน่วยบริการได้ส่งผู้ที่มีผลการตรวจ
ผิดปกติไปท าการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมหรือส่งเพื่อไปรักษาโรคเกือบทุกราย แต่ไม่มีการรายงานข้อมูล
เข้ามายังฐานข้อมูลของโครงการ โดยภาพรวมผลการด าเนินงานในรอบ 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2553 –
2557 เป็นไปได้ค่อนข้างดี แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างพื้นฐานทางสาธารณสุขที่ดีของประเทศ สามารถ
ท าการคัดกรองโรคซึ่งเป็นขั้นตอนที่ส าคัญที่สามารถช่วยลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้
ข้อเสนอแนะจากการศึกษา ทุกพื้นที่ควรให้ความรู้และสร้างความเข้าใจกับประชาชนถึง
ความจ าเป็นในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจคัดกรองมากขึ้น
ควรเร่งชี้แจงจ านวนการคัดกรองที่แท้จริง เพราะหลายพื้นที่มีการตรวจซ้ าในคนเดิมแทนที่จะชักชวน
คนที่ไม่เคยตรวจมารับบริการ ควรให้ความส าคัญในเรื่องการส่งต่อและการรักษาโรคของผู้ที่มีผล
ผิดปกติและการบันทึกข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบสมบูรณ์การพัฒนาความรู้บุคลากรนับเป็นกิจกรรม
ที่จ าเป็นต้องมีการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อคุณภาพของการด าเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปาก
มดลูก
abstract:
ABSTRACT
Title Evaluation of Cervical Cancer Screening : Lessons Learned
from Integrative National Project
Field Social-Psycology
Name Mr. Weerawut Imsamran Course NDC Class 57
The aim of the study is to evaluate the outcome of cervical cancer screening
program. To conduct the project, many sectors have to join together from community level to high
ranking level of Ministry of Public Health. The project was carried out for more than 10 years
consisting of many steps with an enormous cost.
The project result showed that during 2010-2014, women aged 30-60 could receive
cervical cancer screening at primary care unit near their house every 5 years. The project’s target
has been set at 9,577,840 and there were 8,498,985 women who joined the screening or 88.74%.
However when analyzing from women who had only 1 screening in the last 5 years, we found that
5,164,751 had encountered the screening in the program 53.92%. The screening coverage were
different among 76 provinces, from the highest 91.80% to the lowest 26.02%. The duration of
time to obtain result showed the improvement over time, it took 41.65 days in 2010 to 25.76 days
in 2014. The problems that we observed from the project were the low rate of screening in some
areas and the lack of information regarding referral or treatment of women with abnormal pap
smear. Overall the project was well success, this indicates that our country has a good health
system which is suitable for cancer screening program. The cancer screening program is an
important step to decrease cancer mortality.
In summary, each community need to convince the targeted women to receive
cervical cancer screening by explaining why it is significant for their health. We still need to
clarify the real coverage number, in most area one woman undertook screening many times
instead of trying to cover all targeted women. The activities regarding human resource
development should also continue, this will allow us to improve quality control of cervical cancer
screening.