Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การใช้แนวความคิดสังคมพหุวัฒนธรรม ในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วีรนันทน์ เพ็งจันทร์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง การใช้แนวความคิดสังคมพหุวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย นายวีรนันทน์ เพ็งจันทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที57 เอกสารวิจัยฉบับนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยทีเป็ นองค์ประกอบ สําคัญของสังคมพหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้และศึกษาแนวทางการเสริ มสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่โครงสร้างสังคมแบบพหุวัฒนธรรม โดยเป็ นการศึกษาภาพรวมโครงสร้าง ความสัมพันธ์ของประชาชนในพืนทีจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ซึงการศึกษาวิจัยครังนีเป็ น การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์ และประสบการณ์ตรงของผู้ทําการศึกษาวิจัย ผลการวิจัยสรุ ปได้ว่า ปัจจัยทีเป็ นองค์ประกอบสําคัญของสังคมพหุวัฒนธรรมใน จังหวัดชายแดนภาคใต้พบว่า สภาพสังคมทีเป็ นแบบพหุวัฒนธรรม เกิดจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ อันเป็ นทีตังของพืนที และกระบวนการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ โดยมีหัวใจสําคัญ คือ ความสัมพันธ์ ทีดีต่อกัน และปัจจัยทีมีผลต่อความสัมพันธ์มี10 ปัจจัยคือความเป็ นเพือน ความเป็ นเครือญาติ การสือสารด้วยภาษามลายูถิน การไปมาหาสู่ การพึงพาอาศัยเกือกูล การรอมชอม การเรียนรู้ซึงกัน และกัน การไม่ก้าวล่วงหรือดูหมิน การร่วมงานประเพณีและการร่วมกิจกรรมทางสังคม สําหรับ แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่โครงสร้างสังคมแบบพหุวัฒนธรรม พบว่า การก่อเหตุ ความรุนแรง การข่มขู่คุกคามของผู้ก่อความไม่สงบ แนวความคิดสุดโต่งทางศาสนา ความไม่เข้าใจ แนวความคิดพหุวัฒนธรรมของเจ้าหน้าทีรัฐ เป็ นอุปสรรคในการสร้างความเข้มแข็งของโครงสร้าง สังคมแบบพหุวัฒนธรรม และต้องเปิ ดพืนทีให้ปัจจัยทัง 10 ปัจจัย สามารถขับเคลือนได้อย่างเต็ม ศักยภาพ โดยไม่มีอุปสรรคดังกล่าว ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ ปฏิรูปและจัดการศึกษาเป็ นการเฉพาะในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ทุกระดับและทังระบบ เพิมสัดส่วนโครงสร้างทางประชากรทีนับถือศาสนาพุทธ ซึงจะทํา ให้เกิดความสมดุลทางวัฒนธรรม และการปฏิบัติการทางทหารต้องใช้ยุทธวิธีด้านการรักษาความปลอดภัย และการคุ้มครองป้ องกันประชาชนเป็ นหลัก และมีข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการคือส่งเสริมการใช้ภาษา มลายูถินอย่างจริงจัง เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้แก่เจ้าหน้าทีของรัฐทุกฝ่ ายให้เกิดความตระหนัก มีความเข้าใจลึกซึง ยอมรับและเห็นคุณค่าของสังคมพหุวัฒนธรรม และส่งเสริมให้ผู้นําในหมู่บ้าน/ ชุมชน กรรมการหมู่บ้าน กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นําทางศาสนาอิสลามและพระสงฆ์ ได้มีความใกล้ชิด สนิทสนมกันอย่างเป็ นธรรมชาติ

abstract:

ABSTRACT Title The Concept of Multi-Cultural Society to Tackle of Problem in Southern Border Provinces. Field Military Name Weranaan Pengjun Course NDC Class 57 The purpose of this research is to study and analyze the important factors of Multi-Cultural Society in Southern of Thailand and also study of how to strengthening the structure by studying the overall structure of the relation of local people in Pattani, Yala and Narathiwat. This research is qualitative research by analyzing from the documents and paper works, interviews, observation, and experience of the researcher. The research result conclude that the element of the important factors of Multi- Cultural Society in Southern of Thailand found that the condition of Multi-Cultural Society in the South has occurred from the geographic located and the development of history. The core value of its development is the good relationship with each other and there are 10 factors which affected the relationship are friends, relative, local language communication, visiting, dependence, compromise, learning each other, no trespassing or insult, participation in cultural activities, participation in community activities. The strengthening of the structure of Multi-Cultural society found that the violent incidents, the coercion and threaten from people who have different opinion, extremism and misunderstanding the idea of Multi-cultural society of the state officials are the obstacles in building up and strengthen the structure of Multi-cultural society. These 10 factors must flow and move it freely without any obstacles. The researcher has provided the suggestion in 2 terms. First, in terms of policy, the education management system in southern of Thailand must reform in all levels and system, balancing of culture by increasing a portion of Buddhist citizen and the core principle of military operation strategy is the protection of the security of people. Second, in terms of operation, to promote the local language, to promote the learning process of all state officials to deeply understand and accept the value of Multi-cultural society, and to promote the leader of community such as head of villages, religious leaders and monks to be more closely and more interactive.