เรื่อง: รูปแบบโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี วิโรจน์ ศิลาอาศน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง รูปแบบโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจยัที่มีอิทธิพลตอ่ ความ
ผกู พนั ต่อองค์กรของบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั พล.ต.วิโรจน์ ศิลาอาศน์หลักสูตรวปอ.รุ่นที่57
การวิจยัคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ด้านองค์กร
ด้านบุคลากร ด้านทรัพยากรบุคคล ดา้นรางวลัและสิ่งตอบแทน และด้านงาน กับความผูกพันต่อ
องค์กรของบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรด้านองค์กร ด้าน
บุคลากร ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านรางวลัและสิ่งตอบแทน และด้านงาน กับความผูกพันต่อองค์กร
ของบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก 3) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบ
เชิงสาเหตุของความผูกพันของต่อองค์กรของบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์ทหารบกที่พฒั นาข้ึนกับ
ข้อมูลเชิงประจักษ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในกรมวิทยาศาสตร์
ทหารบกจ านวน 460คน โดยใชแ้บบสอบถามที่ผา่ นการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหาค่าดชั นี
ความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับวัตถุประสงค์อยู่ระหว่าง 0.6 ถึง 1ค่าความเชื่อมนั่ อยรู่ะหว่าง0.97-
0.99 ตรวจสอบความเที่ยงตรงโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน วิเคราะห์อิทธิพล
ทางตรง อิทธิพลรวม และตรวจสอบความสอดคล้องของแบบจ าลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัย
ที่มีอิทธิพลต่อความผูกพนั ต่อองค์กรของบุคลากรที่ผูว้ิจยัสร้างข้ึนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการ
วิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม Amos16
ผลการวิจัย พบว่า แบบจ าลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความ
ผูกพันมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาผลการทดสอบค่าไค-สแควร์ มีค่าเท่ากับ
194.50, องศาอิสระ (df) มีค่าเท่ากับ 77, P-value เท่ากับ .000ค่าดัชนีรากก าลังสองเฉลี่ยของค่าความ
แตกต่างโดยประมาณ (RMSEA) มีค่าเท่ากับ .057 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ
.953ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) มีค่าเท่ากับ .906แบบจ าลองมีความ
กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็ นอย่างดี ปัจจัย ด้านบุคลากร และงานมีอิทธิพลทางตรงต่อความ
ผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร อยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธ์ิทางบวก เท่ากับ .65,
และ .98 ตามล าดับ ตัวแปรในแบบจ าลองสามารถอธิบายความแปรปรวนของความผูกพันได้ร้อยละ 73
abstract:
ก
ABSTRACT
Title Causal Relationship Model of Factors Affecting Staff
Engagement of Royal Thai Army Chemical Department
Subject Social Psychology
Researcher Major General Virote Sila-Ard,
The National Defence College Class 57
The purpose of research are (1) to find the relationship between the variables
effects to staff engagement of Royal Thai Army Chemical Department such as
Organization, Human Resource, Reward and Task. (2) Examines influence of the
variables taken as aspect qua factors on variable of factors affecting staff engagement.
(3) Developing these causal relationships and thereupon ascertains the validity of this
model by testing the goodness of fit between the model and pertinent empirical data.
The sample population consisted of 460 staffs who are members of the Royal
Thai Army Chemical Department. Data were collected by means of questionnaires. The
questionnaires were tested for content validity by the index of item objective
congruency method with the results falling between 0.6 to 1, with reliability coefficient
was found in range 0.97 to 0.99. Construct validity was confirmed by an application of
confirmatory factor analysis and analyses were conducted yielding direct, indirect, and
total effects. The validity of the causal relationship model of factor affecting staff
engagement under study was confirmed through testing the goodness of fit between the
model and the empirical data collected. Structural equation analysis was also applied by
extrapolating the linear structural relationship technique in its Amos 16 instantiation.
The research results indicated that model was consistent with the pertinent
empirical data. Goodness of fit measures were found to be chi-square ( 2
) = 194.50;
degrees of freedom (df) = 77; probability value (P-value) = 0.00; goodness-of-fit index
(GFI) = .953; adjusted goodness of fit index (AGFI) = .906; root mean square error of
approximation (RMSEA) = .057. The researcher found that the factors of staff ( = .65)
and task ( = .98) with the factors being statistically significant at the p = .05 level.
Finally, the variables in the model were determined to be explanatory of 73 percent of
the variance in staff engagement.