Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจ ในกลุ่มประเทศ กัมพูชา ลาวและเมียนมาร์ สำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอและการ์เมนท์

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิบูลย์ ตวงสิทธิสมบัติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจ ในกลุ่มประเทศ กัมพูชา ลาวและเมียนมาร์ส าหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอและการ์เมนท์ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายวิบูลย์ ตวงสิทธิสมบัติ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57 อุตสาหกรรมสิ่งทอและการ์เมนท์นบั ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสา คญั ต่อระบบเศรษฐกิจ ของไทยท้งัในดา้นส่งออกและการจา้งแรงงาน ทิศทางและแนวทางที่จะทา ให้ประเทศไทยสามารถแข่งขนัและ เติบโตในเวทีโลกไดอ้ยา่ งยงั่ ยนืและสามารถแข่งขนักบั ประเทศผสู้่งออกรายใหญ่ในภูมิภาคอาเซียน คือการพฒั นา ให้ประเทศไทยเป็ นศูนยก์ลางธุรกิจสิ่งทอและการ์เมนท ์การวจิยัน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาให้มีความเข้าใจใน กลุ่มประเทศกมั พูชาลาวและเมียนมาร์ สา หรับอุตสาหกรรมสิ่งทอและการ์เมนท์มากข้ึน 2) วิเคราะห์ปัจจยัที่ ส่งผลต่อการให้ประเทศไทยเป็นศูนยก์ลางธุรกิจท้งัในดา้นบวกและดา้นลบ 3)กา หนดยุทธศาสตร์การส่งเสริม เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางธุรกิจอุตสาหกรรมสิ่งทอและการ์เมนท์หลงัการเขา้ร่วมประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน โดยกา หนดขอบเขตการวิจยัเฉพาะการส่งเสริมพฒั นาให้ประเทศไทยเป็นศูนยก์ลางธุรกิจซึ่ง ครอบคลุมประเทศไทยกมั พูชาลาวและเมียนมาร์เท่าน้นั ในรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาเอกสารและ งานวจิยัของไทยและต่างประเทศ ประกอบกบัศึกษาแนวทางของประเทศอื่นๆที่ทา ไดด้ีในเรื่องน้ีเพื่อเปรียบเทียบ ผลการวิจยัพบวา่ ประเทศไทยมีทา เลที่ต้งัซ่ึงเป็นจุดยทุ ธศาสตร์ของภูมิภาค ประกอบกบั มีโครงสร้างพ้ืนฐานที่ พร้อมกวา่ ประเทศเพื่อนบา้นเหมาะกบัการเป็นศูนยก์ลางธุรกิจผูป้ ระกอบการมีความสามารถและประสบการณ์ ท้งัในดา้นการคา้และการจดัการ มีศกัยภาพในการผลิตสินคา้ตน้ น้า ที่มีความหลากหลายและมีอุตสาหกรรมต้งัแต่ ตน้ น้า กลางน้า และปลายน้า ที่สมบูรณ์ซึ่งในภูมิภาคอาเซียนมีเพียง 2 ประเทศไดแ้ก่ไทยและอินโดนีเซีย ส่วนจุด แข็งไดแ้ก่ ด้านคุณภาพและความประณีต ความน่าเชื่อถือในการส่งมอบและศกัยภาพในดา้นการผลิต สิ่งที่ตอ้งเร่ง ปรับปรุงและพฒั นาไดแ้ก่ การพฒั นาบุคลากร การวิจยัพฒั นาที่สอดคลอ้งเชื่อมโยงไปสู่เชิงพาณิชย์ ห่วงโซ่ อุปทานที่ยังขาดการเชื่อมโยงสนบั สนุนซ่ึงกนัและกนั การออกแบบ การพฒั นาฐานขอ้มูลองคค์วามรู้การทบทวน แกไ้ขกฏระเบียบที่เกี่ยวขอ้งใหท้ นั สมยัสอดคลอ้งกบั สถานการณ์และส่งเสริมการแข่งขนั ในเวทีสากลผลการ วิจัย นา มาสู่ขอ้เสนอแนะเชิงนโยบาย 5 ข้อ ดงัน้ี1) รัฐบาลตอ้งเร่งเจรจาจดั ทา ความตกลงเขตการคาเสรี ( ้ FTA) กบั ประเทศต่างๆใหม้ ากที่สุด เพื่อเจรจาใหไ้ดส้ิทธิพิเศษทางภาษีและไดใ้ชป้ ระโยชน์จากกฎแหล่งกา เนิดของสินคา้ เช่น Yarn forward 2) ตอ้งสร้างแรงจูงใจให้ลูกคา้และแบรนด์ของสิ่งทอและการ์เมนท์เขา้มาต้งัถิ่นฐานเพื่อ Sourcing วัตถุดิบและสินค้าในไทยด้วยนโยบายด้านภาษี (BOI) 3) สนบั สนุนจดั ต้งัหน่วยงานกองทุนสา หรับการ วิจัยอบรมและพฒั นาทางดา้นออกแบบแฟชนั่ จัดงานแสดงสินค้า และเทคนิควิศวกรรมทางสิ่งทอ 4) เจรจากบั กลุ่มประเทศ CLM เพื่ออ านวยความสะดวกในกรณีที่นักลงทุนจากประเทศไทยไปลงทุน 5) รัฐบาลจดั ต้งันิคม อุตสาหกรรมพิเศษที่บริเวณชายแดนและสร้างระบบอ านวยความสะดวกให้แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน สามารถเขา้มาทา งานโดยสะดวก สามารถไปเชา้กลบั เยน็ และมีการจา กดัพ้ืนที่ใหแ้รงงานอยภาย ู่ ในนิคม

abstract:

ABSTRACT Title The development of Thailand as a business hub in Cambodia, Laos and Myanmar for Garment and textile. Field Economics Name Mr. Vibul Tuangsitthisombat Course NDC Class 57 Textile and Garment Industry are the important role of Thailand's economy in terms of export and employment. The development of Thailand as the hub for garment and textile business is the best direction and guidance to make the country more competitive and sustainable growth on the world stage and compete with the major exporting countries in the AEC region. The research objectives are to: 1) understanding garment and textile industry among Cambodia, Laos and Myanmar, 2) to analyze the positive and negative factors affect to Thailand as the business hub, 3) to promote and strategies for Thailand as the center of textile and garment business after joining AEC. This research is qualitative research by the literatures review and compares the other countries which success on this regarding business. The results showed that Thailand has a strategic and the business center location in the region and has more suitable infrastructure than neighbor country. There are only two countries of ASEAN country, including Thailand and Indonesia, which the operators have the ability and experience in both the commercial and management and have the potential to produce a wide range from upstream to midstream and downstream industry. The strengths of both countries are the quality, refinement products and the reliability in logistic. The weakness has to modify and development are to the human resource development, research and development link to commercial, the mutual support design, database knowledge and the regulation and law revision related to situation and encourages competition. The results lead to the government policy suggestions including: 1) the government has to speed up negotiations on Free Trade Area agreements (FTA), 2) to motivate the customer and the brand operator settle in Thailand by tax policy (BOI), 3) Support the - 2 - establishment of funding agency for research, development and training, 4) negotiate with the CLM country to facilitate the investors from Thailand to invest, and 5) establishment of industrial estates near the border and building facilities to workers from neighboring countries to come to work.