Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบูรณาการพลังอำนาจของชาติด้านการทหารเข้ากับพลังอำนาจของชาติด้านอื่นๆ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี มานัต วงษ์วาทย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง แนวทางการบูรณาการพลังอํานาจของชาติด้านการทหารเข้ากับ พลังอํานาจของชาติด้านอืนๆ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลอากาศตรี มานัต วงษ์วาทย์ หลักสูตรวปอ. รุ่นที๕๗ การเอาชนะศึกสงครามด้วยการมีศักยภาพทางการทหารทีเหนือกว่า คือ ความจริงที ปรากฏในทางการทหารมาแต่ดังเดิม อย่างไรก็ตาม การศึกสงครามได้เปลียนแปลงไปอย่างต่อเนือง ตามพัฒนาการ/การเปลียนแปลงของโลกนับตังแต่ยุคหิน ยุคโลหะ ยุคสังคมการเกษตร ยุค อุตสาหกรรมและก้าวสู่ยุคแห่งข้อมูลข่าวสารในปัจจุบัน สภาพภัยคุกคามทังภัยคุกคามดังเดิมและภัยคุกคามรู ปแบบใหม่ส่ งผลกระทบต่อ ผลประโยชน์ของชาติประกอบกับความท้าทายในสังคมโลกยุคใหม่มีความซับซ้อนมากขึนภายใต้ พืนฐานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในการแสวงประโยชน์และสร้างพลังอํานาจ การแข่งขันของแต่ละประเทศและ/หรือแต่ละกลุ่มประเทศมากขึน อนึงกองทัพไทยหรืออีกนัยหนึง ในฐานะของกองทัพในกลุ่มประเทศ ASEAN ยังคงใช้เครืองมือดังเดิมทีเริมต้นด้วยทฤษฎีหลักการ เกียวกับการศึกสงครามและ/หรือการใช้กําลังทหารเข้าทําศึกสงครามและ/หรือใช้กําลังทหารตามรูป แบบเดิมเข้าเผชิญต่อการคุกคามจากภายนอก หรือแม้กระทังยังคิดทีใช้กําลังทหารเข้าการทําการรบ ระหว่างกันเองตามทีเคยได้รับการปลูกฝังมา ซึงวิธีการเช่นนีอาจใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไปใน สถานการณ์ปัจจุบันและในอนาคต การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์หลักในการ ศึกษาและค้นหาแนวทางทีเหมาะสมในการ บูรณาการพลังอํานาจของชาติด้านการทหาร เข้ากับพลังอํานาจของชาติด้านอืนๆ เพือให้ประเทศ ไทยสามารถสถาปนาศักยภาพทางการทหารทีแข็งแกร่งเป็ นของตนเองพอทีจะตอบสนองต่อความ ต้องการของประเทศไทยและต่อความรับผิดชอบด้านประชาคมการเมืองความมันคงของประชาคม อาเซียน โดยทําการวิจัยเชิงสํารวจด้วยการศึกษาวิเคราะห์จากประสบการณ์ ทฤษฎี/หลักวิชาการ เอกสารราชการ วารสาร และแบบอย่างของต่างประเทศ กับการสัมภาษณ์ผู้ทีมีบทบาทหลักของ พลังอํานาจของชาติในแต่ละด้าน อนึง ผลการศึกษาวิจัยสามารถประมวล “ภัยคุกคาม”กับ “ความ ท้าทาย”ขึนใหม่โดยจําแนกออกเป็ น ๔ ส่วน คือ ๑) ภัยคุกคามดังเดิม ๒) ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที เป็ นภัยคุกคามภายใน ๓) ภัยคุกคามรูปแบบใหม่อืนๆ และ ๔)ความท้าทายด้านความมันคงข บทสรุปทีสําคัญซึงได้จากการวิจัย คือ การบูรณาการพลังอํานาจของชาติด้านการทหาร กับพลังอํานาจของชาติด้านอืนๆ นันสามารถสรุปอย่างเป็ นเอกฉันท์ว่าสามารถตอบคําถามใน ภาพรวมได้ทังหมด ตัวแบบองค์ประกอบสําคัญของพลังอํานาจของชาติด้านการทหาร ได้แก่ องค์ ความรู้ กําลังรบ ศักย์สงคราม การกําหนดองค์ประกอบสําคัญพลังอํานาจของชาติด้านอืนๆที เกียวข้องกับพลังอํานาจของชาติด้านการทหาร ทฤษฎีต่างๆ รวมไปถึง การกําหนดแนวคิดใน การบูรณาการด้วยการคิดค้นเครืองมือ ๓ ประการ ได้แก่ เจตนารมณ์ วิชาการ กลไก เป็ นทียอมรับ และมีความเป็ นไปได้โดยเป็ นความจําเป็ นในเบืองต้นทีทหารในฐานะเป็ นเจ้าภาพหลักควรต้องเร่ง สถาปนาศักยภาพทางการทหารให้แข็งแกร่ง โดยอาศัยการบูรณาการกิจการหรือการประกอบการ ของภาคส่วนของพลังอํานาจของชาติด้านการทหารเข้ากับกิจการหรือการประกอบการภาคส่วน ของพลังอํานาจของชาติด้านอืนๆ ทีมีอยู่ภายในประเทศ ท้ายทีสุดและสําคัญทีสุด คือ ทหารสมควรต้องยกระดับตนเองให้เป็ นหน่วยงานหลัก รับผิดชอบการสถาปนาศักยภาพทางการทหารในวัตถุประสงค์หลักเพือความอยู่รอดในทุกสภาวะ วิกฤติทังในภารกิจการป้องกันประเทศและการรักษาความมันคงปลอดภัยกับภารกิจการปกป้ อง ผลประโยชน์ของชาติอย่างยังยืนต่อไป

abstract:

Abstract Title The total integration of military power with other significant national Field Military Name AVM MAANAT WONGWAT Course NDC Class 57 To win the war with the exceeded potential military power than other opponents is the truth and has been realized in military history. Recently, the possible threats to the nation are not only traditional threats but also non-traditional threats which is undoubtedly affecting the national interest. Together with, the existing global challenges are more sophistication of Information Communication and Technology (ICT) which every nation and/or union is now trying to utilize ICT in order to maximize benefits for national competitiveness and national sustainable power. The research objectives are to study and to identify the coherent integration model between military power and other significant national power of Thailand in order to establish the strong and compact military power enough for the national development and the ASEAN APSC (ASEAN Political-Security Community) alignment. The quality survey research is conducted by collecting, structing, analyzing and synthesising from ground based theory, mlitary theory, research papers and practical international model; together with, the intensive interview of key representatives from other significant national power. The critical findings are able to catagerize threats and challenges in four parts including (1) Traditional threats (2) Non- Traditional threats focusing on domistic threats (3) Other emerging traditional threats and (4) Security challenges. In conclusion, the coherent integration model between military power and other significant national power of Thailand is entirely acceepted that it can be systematically utilized to encounter the existing and future environment with recognition of emerging threats and adaptive challenges. The model consists of three major components including (1) Body of Knowledge (2) Military Force and (3) War Potential which will be the framework for other national power to identify issues related to military power. There are three appropriate integration tools including (1) Intention (2) Knowledge Utilization and (3) Mechanism. Therefore, the military must immediately establish the strong and compact military power by the integration with other significant national power. Lastly and significantly, military must adapt itself being responsible to establish strong and compact military power in order to survive under all unstable circumstance not only to safeguard the nation but also to secure the nation and to protect the national security.