เรื่อง: แนวทางการพิสูจน์ว่า กเบื้องจานเป็นจารึกโบราณและเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีอยู่จริง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศเอก หญิง พันธ์นิดา ณ ลำปาง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางพิสูจน
์
ว่ากเบ้ืองจานเป็
นจารึกโบราณและเป็
นหลกัฐานทาง
ประวตัิศาสตร
์
ที่มีอยจู่ ริง
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั นาวาอากาศเอกหญิง พันธ์นิดา ณ ล าปาง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57
เอกสารวิจยัฉบบั น้ีมีวตัถุประสงค์ที่จะศึกษาขอ้มูลความรู้ที่ปรากฏอย่ใูนกเบ้ืองจานอนั เป็น
เรื่ องราวเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมา อารยธรรมและคติธรรมของผู้คนในดินแดนที่เป็ นประเทศไทย
ในปัจจุบนั น้ีซ่ึงในยุคสมยัที่บนั ทึกไวใ้นกเบ้ืองจานเรียกดินแดนน้ีว่าสุวัณณภูมิ และมีพัฒนาการเรื่อยมา
จนถึงยุคสุโขทยั ท้งัน้ีเพื่อรักษาขอ้มูลเหล่าน้ีไวเ้ป็นมรดกของชาติมิให้สูญหายเป็นที่รู้กนัอย่างกวา้งขวาง
มากข้ึนและเป็นแบบปฏิบัติของสังคมในปัจจุบัน รวมท้ังเพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณของพระราชกวี
(อ ่าธมฺมทตฺโต) ผู้มีความรู้ความสามารถในการอ่านและการตีความจารึ กประวัติศาสตร์จากลายสือไทย
ที่ปรากฏอยู่ในกเบ้ืองจานให้สังคมได้รับทราบ เอกสารวิจัยน้ีจึงได้น าเสนอแนวทางในการพิสูจน์ว่า
กเบ้ืองจานเป็นจารึกโบราณและเป็นหลกัฐานทางประวตัิศาสตร์ที่มีอย่จูริงวิธีด าเนินการวิจัยเริ่มตน้จากการ
รวบรวมขอ้มูลจากหนังสือเอกสาร หลกัฐานทางประวตัิศาสตร์รายงานการศึกษาวตัถุกเบ้ืองจานเบ้ืองต้น
ของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งและการปริวรรตข้อความที่พระราชกวีฯ อ่านไดจ้ากกเบ้ืองจานโดยการสอบถาม
จากผู้มีความรู้และศึกษาค้นคว้าข้อมูลกเบ้ืองจานจากมลูนิธิพระราชกวีฯ
จากการศึกษาในเรื่องน้ีผวู้ิจยัพบว่าเรื่องราวที่ปรากฏในกเบ้ืองจานที่ไดจ้ากการอ่านของพระ
ราชกวีฯเป็นเรื่องราวที่มีคุณค่ามีเน้ือหาครอบคลุมถึงตน้กา เนิดชนชาติไทยความเป็นมาความรุ่งเรืองของยุค
สมัย ศิลปวิทยาการแขนงต่างๆ ของบรรพชนไทย ซ่ึงขอ้มูลเหล่าน้ีอาจมิใช่สมบตัิล้า ค่าของไทยเท่าน้ันแต่
เป็ นสมบัติของชนชาวเอเชียและของโลกด้วย แม้ว่าการพิสูจน์ทางกายภาพยังไม่สามารถยืนยันได้อย่างชัดเจน
ว่าแผ่นจารึกกเบ้ืองจานน้ีมีอายุยาวนานเท่าที่ระบุไวใ้นจารึกฯ แต่เน้ือหาสาระที่เกิดจากความเพียรพยายาม
การเก็บรักษา และการค้นคว้าจนสามารถอ่านได้ภาพประวัติศาสตร์ชาติไทยอันยาวนาน พร้อมข้อมูลเกี่ยวกับ
วิถีชีวิต ความเป็นอยู่วิทยาการต่างๆ กฎหมายรวมถึงสิ่งที่มีปรากฏอยู่ในยุคสมยัที่ผ่านมาน้ัน ไม่น่าที่จะ
เขียนข้ึนจากจินตนาการแต่ตอ้งมีที่มาที่ไปจากหลกัฐานที่มีอย่จูริงซึ่งไม่น่าที่จะละเลยปล่อยให้สูญหายไป
ผวู้ิจยัมีขอ้เสนอแนะว่าขอ้มลู ที่ไดจ้ากกเบ้ืองจานน้ีจะทา ให้คนไทยเกิดความภาคภูมิใจและรักชาติบา้นเมือง
ท้งัยงัสามารถนา ไปปรับใชแ้ละเป็นแบบอยา่งในการประพฤติปฏิบตัิของสงัคมปัจจุบนัไดเ้ป็นอยา่งดี
abstract:
Abstract
Title : Concept in proving the authenticity of historical record on ancient
ceramicsand its utilization as historical evidence
Field : Social Psychology
Name : Gp.Capt.Pannida Na Lampang Course : NDC Class : 57
This is a study of historical records appeared on ancient ceramics found in Thailand.
These ceramics are dated back to Pre Sukhothai era when the Land was known as Suvannabhumi .
Inscriptions and marks on these objects tell history, civilization and morals of those living at the
time. Preservations of these pieces became prevalent during the Sukhothai era with the aim to pass
down knowledges to the next generations and safe keep the customs and practices of the people as
national heritages. Moreover, the study serves as an eulogy to the Venerable Aum Dhammadatho
who is famous for his abilities to read and translate the inscription and explain the significances of
these marks on ancient ceramics. The research proposes concept in proving the authenticity of
historical record on ancient ceramics and its utilization as historical evidence.
First, information are gathered from documents, records and studies on the history of
Suvannabhumi ceramics. Then interviews were made with those connected to the Venerable Aum
at the Foundation. Inscriptions and marks on the ceramics tell valuable information about national
geneology, civilizations of the period and various disciplines of knowledge at the time and of the
Thai forefathers. The story is a significant part of Thai and ,even, world heritage.
Definite physical age of these ceramics cannot yet be precisely determined, but what
is recorded and told are not fictional and must have been derived from actual facts. These
ceramics have been carefully preserved in the same manner ancient relics are. It is proposed that
Thailand continue to utilize these records for the educational benefit these ceramics can provide.