Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การกำหนดยุทธศาสตร์ทางทะเลของไทย และยุทธศาสตร์ทางเรือ รองรับ “เศรษฐกิจสีน้ำเงิน (Blue Economy),(วปอ.10323)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี เอกสิทธิ์ วุฒิเผ่า,(วปอ. 10323)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เร่ือง การก าหนดยุทธศาสตร์ทางทะเลของไทย และยุทธศาสตร์ทางเรือ รองรับ “เศรษฐกิจสีน าเงิน (Blue Economy)” ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ การทหาร ผู้วิจัย พลเรือตรี เอกสิทธิ์ วุฒิเผ่า หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖ การวิจัยเรื่อง การก าหนดยุทธศาสตร์ทางทะเลของไทย และยุทธศาสตร์ทางเรือ รองรับ “เศรษฐกิจสีน าเงิน (Blue Economy)” ครั งนี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปัญหาการก าหนดยุทธศาสตร์ ทางทะเลของไทย และศึกษาแนวโน้ม-แรงบังคับ SWOT ต่อบริบทเศรษฐกิจสีน าเงิน โดยจะสังเคราะห์ เป็น “ยุทธศาสตร์ทางทะเลของไทย” และ “ยุทธศาสตร์ทางเรือ” ต่อไป โดยการวิจัยนี เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพร่วมกับการใช้การวิจัยเชิงพรรณนา การวิจัยพบว่าแนวคิด “เศรษฐกิจสีน าเงิน หรือ Blue Economy” (ค.ศ.๑๙๙๔) นั นมุ่งใช้ นวัตกรรมเพ่ือลดของเสียจากกระบวนการผลิตหรือน าของที่เหลือมาใช้เป็นวัตถุดิบซ า และมุ่งขับเคลื่อน เศรษฐกิจโดยใช้ทรัพยากรบนบกและทะเลอย่างสมดุล กับต้องสงวนไว้เพ่ือลดผลกระทบในอนาคต ปัจจุบัน องค์การ UN ได้ออก “วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 2030)” โดยมีเศรษฐกิจสีน าเงินเป็นกุญแจส าคัญ สู่การบรรลุ SDG 14 การนี UNFCCC ได้ออก “ความตกลงปารีส” (COP 21) เพ่ือให้นานาชาติตระหนักและ ปรับตัวลดภาวะโลกเดือด ส่งผลให้ EU และสหรัฐ ได้ออกมาตรการ CBAM (ปรับคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน) ซึ่งนับเป็นแรงบังคับใหม่ที่จะมีผลกระทบวงกว้างและมีแนวโน้มเร่งการบังคับใช้ (ค.ศ.๒๐๒๖) แต่ยุทธศาสตร์ชาติและแผนระดับ ๒ ต่างมิได้หยิบยกเรื่องเศรษฐกิจสีน าเงินนี ขึ นมาเป็นเป้าหมาย (Ends) ที่ชัดเจน ท าให้หน่วยงานต่าง ๆ อาจไมมี่แผนรองรับ ซึ่งอนาคตจะเกิดความเสียหายจากแรงบังคับนี ซ ารอย กรณไีทยโดยบังคับ IUU Fishing , ICAO ที่ผ่านมา นอกจากนี ควรรื อระบบยุทธศาสตร์ ๓ ประเด็น กล่าวคือ (๑) ต้องมี “มหายุทธศาสตร์” (๒) เพ่ิมเติม “ยุทธศาสตร์ทะเล” (๓) ปรับปรุง “ยุทธศาสตร์ทางเรือ” ทั งนี ต้องผสมผสานทฤษฎี IR ใช้ทั งสัจนิยม เสรีนิยม การพ่ึงพากันแบบซับซ้อน ภูมิรัฐศาสตร์ หลักการทางทะเล ตามบริบทที่ไทยจะรักษาผลประโยชน์แห่งชาติได้สูงสุด ส าหรับข้อเสนอ “ยุทธศาสตร์ทะเลของไทย” นั น มีเป้าหมายที่ต้องการ (Desire Ends) เริ่มจากความมั่งคั่ง สู่ความมั่นคง และความยั่งยืน มุ่งเป้าหมาย (Ends) คือ “อ่าวไทยและทะเลอันดามันเป็นทะเลแห่งสันติสุข” ที่มีองค์ประกอบส าคัญ คือ (๑) ความปลอดภัยในการเดินเรือ (๒) ความรุ่งเรือง (๓) เสถียรภาพ ซึ่งรัฐต้องมีขีดความสามารถการฟ้ืนตัว (Resilience) ความยั่งยืน (Sustainability) การมี การใช้และการพ่ึงพาเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม (Technology - interdependence) โดยสื่อสาร สู่สากลผ่านถ้อยค า “มหายุทธศาสตร์ TRUSR to C-Connect” ส่วนขั นการจัดท ายุทธศาสตร์ทะเลนั น ให้ยกระดับ “แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล” ขึ นเป็นแผนระดับ ๒ และรวมประเด็นด้านทะเลที่ปรากฏ ในแผนระดับ ๑ และ ๒ มาไว้ด้วยกัน กับเพ่ิมเติมด้านต่างๆ ให้สมบูรณ์ครอบคลุมทุกบริบททางทะเลและ สากล ส่วน “ยุทธศาสตร์ทางเรือ” นั นปรับเพ่ิมบทบาทกองทัพเรือ ใน ๒ เป้าหมายหลัก คือ (๑) สร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจจากกิจกรรมทางทะเล (Ocean Economy) และ (๒) การดูแลรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ทางทะเล (Ocean Health) ข ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ไทยควรจัดตั งกระทรวงหรือหน่วยงานเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นกลาง ทางคาร์บอน โดยออกยุทธศาสตร์และนโยบายรองรับให้ชัดเจน กับเร่งบูรณาการขีดความสามารถหน่วยงาน ความมั่นคงทางทะเลเดิมและทีเ่กี่ยวข้องทั งในประเทศและภูมิภาค รวมทั งมีมาตรการต่าง ๆ เช่น ส่งเสริมการ พัฒนาเขตเศรษฐกิจสีน าเงิน (BEZ) ตามหลักการ MSP การน าตัวชี วัดสากล ได้แก่ MSI, OHI, SEEA มาจัดท า ตัวชี วัดส าหรับหน่วยงานทางทะเลไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือส่งเสริมตัวชี วัดไทยโดยมุ่งบรรลุ เป้าหมาย SDG 14 และมิติการพัฒนาที่ยั่งยืนในที่สุด

abstract:

ค Abstract Tittle : Determination of Thailand's Sea Strategy and naval strategy to support the "Blue Economy" Field : Strategy and Military Name : RADM Eakasit Woodypao RTN. Course : NDC Class: 66 Research on Determining Thailand's Sea Strategy and naval strategy to support the "Blue Economy". This time, the objective is to study the problems of determining Thailand's Sea Strategy. and study the trends and forces of SWOT in the context of the blue economy. It will be synthesized as “Thai Sea Strategy” and “Navy Strategy” next. This research is qualitative research combined with the use of descriptive research. Research has found that the concept The “Blue Economy” (1994) aims to use innovation to reduce waste from the production process or reuse leftovers as raw materials. and aims to drive the economy by using resources on land and sea in balance and must be reserved to reduce future impacts Currently, the UN Organization has issued the "Sustainable Development Agenda (SDGs 2030)" with the blue economy as the key to achieving SDG 14. The UNFCCC has issued the "Paris Agreement" (COP 21) to raise international awareness and adjust to reduce The global situation is boiling, causing the EU and the United States to issue CBAM measures (adjust carbon before entering borders), which is considered a new force that will have a wide impact and is likely to accelerate enforcement (2026). But the national strategy and Level 2 plans do not raise this issue of the blue economy. It has become a clear goal (Ends), causing various agencies to not have plans to support it. In the future there will be damage from this force. Repeating the case of Thailand by forcing IUU Fishing, ICAO in the past. In addition, the Strategy system should be reinvented in 3 areas: (1) there must be a "Grand Strategy" (2) the addition of "Marine Strategy" (3) the "Navy Strategy" must be improved. This must be combined IR theory uses all realism, liberalism, and complex interdependence. geopolitics Maritime principles According to the context in which Thailand will maintain its national interests to the utmost. for offer “Thailand's Sea Strategy” has Desire Ends, starting with wealth. to stability and sustainability, focusing on the goal (Ends) of "The Gulf of Thailand and the Andaman Sea being a sea of peace" with important elements being (1) safety in navigation (2) prosperity (3) stability, which the state must have the capacity to Resilience, Sustainability, appropriate use and reliance on technology (Technology - interdependence) by communicating internationally through words. “TRUSR to C-Connect Grand Strategy”. As for the Sea Strategy preparation stage, the “National Maritime Security Plan” is to be elevated to a level 2 plan and include maritime issues that appear in the level ง 1 and 2 plans. together with additional aspects to be complete and cover all maritime and international contexts. As for the "Naval Strategy", it increases the role of the Navy in two main goals: (1) creating economic value from maritime activities (Ocean Economy) and (2) maintaining resources and Marine Environment (Ocean Health) Suggestions from research Thailand should establish a ministry or agency to transition to carbon neutrality. By issuing clear strategies and supporting policies. and accelerate the integration of capabilities of existing and related maritime security agencies both in the country and the region. Including various measures such as promoting development Blue Economic Zone (BEZ) according to MSP principles, using international indicators such as MSI, OHI, SEEA to create indicators. For Thai maritime agencies and related agencies or promote Thai indicators with the aim of achieving SDG 14.