Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบริหารจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบธนาคารขยะ กรณีศึกษา เทศบาลตำบลหนองล่อง จังหวัดลำพูน,(วปอ.10322)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เอกวิทย์ มีเพียร,(วปอ. 10322)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การบริหารจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบธนาคารขยะ กรณีศึกษา เทศบาลต าบลหนองล่อง จังหวัดล าพูน ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย นายเอกวิทย์ มีเพียร หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการด าเนินการธนาคารขยะ รวมถึงความส าเร็จและอุปสรรคในการบริหารจัดการขยะในรูปแบบธนาคารขยะ 2. เพื่อวิเคราะห์แนว ทางการบริหารจัดการขยะในรูปแบบธนาคารขยะท่ีมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการ บริหารจัดการขยะในรูปแบบธนาคารขยะ ขอบเขตของการวิจัย ด้านเนื้อหา ศึกษาประเด็นความส าเร็จ ในการด าเนินงานของธนาคารขยะ เทศบาลต าบลหนองล่อง จังหวัดล าพูน ด้านประชากร กลุ่มประชากรท่ีน ามาศึกษาในครั้งนี้ได้แก่ผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนการด าเนินงานของธนาคารขยะ ของเทศบาลต าบลหนองล่อง จังหวัดล าพูน เจาะจง ได้แก่ บุคลากรของเทศบาลต าบลหนองล่อง จังหวัด ล าพูน, ภาคีความร่วมมือของเทศบาลต าบลหนองล่อง , ประชาชนซึ่งเป็นสมาชิกธนาคารขยะของ เทศบาลต าบลหนองล่อง ด้านพื้น ท่ี ศึกษาเขตพื้น ท่ีเทศบาลต าบลหนองล่อง จังหวัดล าพูน โดยมีวิธีด าเนินการวิจัย ผู้วิจัยศึกษาจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลท่ีมีการรวบรวมข้อมูลไว้แล้วอยู่ ในรูป ทฤษฎี และแนวคิดโดยการรวบรวมจากการค้นคว้าเอกสารท่ีเป็นบทความทางวิชาการ หนังสือ วารสาร ส่ิงพิมพ์ ส่ือการสัมภาษณ์ออนไลน์ และแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ เป็นข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวม ข้อมูลของผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้แบบสอบถามจากบุคลากรของเทศบาลต าบลหนองล่อง และภาคีเครือข่าย ความร่วมมือ และประชาชนในเขตพื้นท่ีเทศบาลต าบลหนองล่อง โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้แนวคิด 7’s McKinsey ซึ่งเป็นแบบจ าลองท่ีใช้วิเคราะห์รูปแบบ (Design) ขององค์กร มาจัดท า แบบสอบถามเพื่อวิเคราะห์การบริหารจัดการของธนาคารขยะเทศบาลต าบลหนองล่อง ตามองค์ประกอบ ภายใน 7 ประการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ (Strategy) โครงสร้าง (Structure) ระบบงาน (Systems) ทักษะ (Skills) รูปแบบการบริหาร (Styles) บุคคล (Staffs) และ ค่านิยมร่วม (Shared value) ผลการวิจัยได้แนว ทางการบริหารจัดการขยะในรูปแบบธนาคารขยะท่ีมีประสิทธิภาพ มีการก าหนดโครงสร้างการด าเนินงานใน รูปแบบคณะกรรมการและมีการมอบหมายงานท่ีชัดเจน ประกอบกับมีระเบียบข้อบังคับท่ีสมาชิกใช้ในการ ถือปฏิบัติร่วมกัน ซึ่งส่งผลให้ธนาคารขยะของเทศบาลต าบลหนองล่องสามารถสร้างรายได้ หลักประกันทาง การเงิน หรือสวัสดิการส าหรับสมาชิก รวมถึงประชาชนในพื้นท่ีต าบลหนองล่องมีรายได้เพิ่มข้ึน ท้ังยังลด ภาระค่าใช้จ่ายในการเก็บขนและก าจัดขยะมูลฝอยในพื้นท่ีต าบลหนองล่องได้ ส่วนข้อเสนอแนะใน การศึกษาในครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาการวิเคราะห์เปรียบเทียบการด าเนินงานกับธนาคารขยะในพื้นท่ีอื่น เพื่อจะสามารถเห็นถึงความแตกต่างในปัจจัยความส าเร็จของการขับเคล่ือนธนาคารขยะ 2. ควรท าการศึกษา เพิ่มเติมถึงปัจจัยการบริหารจัดการอื่น ๆ ท่ียังไม่ได้ท าการศึกษาเพื่อสามารถน าไปดูผลการศึกษาท่ี แตกต่างกันได้

abstract:

ข Abstract Title Waste Management by Local Government Organizations in the Form of a Waste Bank: A Case Study of Nong Long Subdistrict Municipality, Lamphun Province Field Social - Psychology Name Mr.Aekawit Meepien Course NDC Class 66 Waste banks are an integral component of sustainable waste management, offering a structured approach to reducing landfill waste through community-based recycling initiatives. Moreover, waste banks are vital to local governance in Thailand, as they integrate waste management into community development, enhancing environmental sustainability and public health. This study aims to investigate the factors influencing the operation of waste banks, focusing on the key determinants of success and the challenges encountered in waste management within the waste bank model. The research also seeks to analyze effective management strategies and provide strategic recommendations for optimizing waste bank operations. The study is confined to the waste bank system operated by the Nong Long Subdistrict Municipality in Lamphun Province, examining both the success factors and the operational dynamics within this context. The research population includes key stakeholders involved in the waste bank’s activities, such as municipal personnel, collaborative partners, and citizens who are members of the waste bank. The geographic focus is limited to the Nong Long Subdistrict Municipality. The methodology combines secondary data, derived from theoretical frameworks and literature reviews, with primary data collected through structured questionnaires distributed to selected informants. The research employs the 7’s McKinsey framework, as an analytical tool to assess and interpret the collected data, aiming to analyze the management of the waste bank operated by Nong Long Subdistrict Municipality, focusing on the seven key elements: Strategy, Structure, Systems, Skills, Style, Staff, and Shared Values. The findings indicate that effective waste bank management is characterized by a well- defined operational structure, clear task delegation, and adherence to collectively established regulations. These factors have enabled the waste bank to generate income and financial security for its members, while also increasing the income of local residents and reducing waste collection and disposal costs in the area. For future research, it is recommended to conduct a comparative analysis with waste banks in other regions to identify differing success factors, and explore additional management factors that have not yet been studied to provide more diverse insights.