สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
010084
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000057
เรื่อง:
ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการสมัครเข้าเป็นทหารกองประจำการ : ศึกษากรณีนักศึกษาวิชาทหารชั้นปีที่ ๓,(วปอ.10312)
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี อัฐพงศ์ พิชญาภรณ์,(วปอ. 10312)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
ก บทคัดย่อ เร่ือง ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการสมัครเข้าเป็นทหารประจำการ: ศึกษากรณี นักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ ๓ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี อัฐพงศ์ พิชญาภรณ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที ่ ๖๖ กระทรวงกลาโหมได้จัดทำยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ โดยจัดทำแผนพัฒนา บุคลากรที่กำหนดเป้าหมายในการบริหารจัดการกำลังพลแต่ละประเภทให้มีสัดส่วนที่สมดุล หลากหลาย สอดคล้องกับภารกิจของกองทัพ พร้อมที่จะก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของยุคดิจิทัล ในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และเมื่อพิจารณา ถึงความสำคัญของกำลังสำรอง ซึ่งจัดเป็นกำลังหลักในการปฏิบัติการรบโดยการขยายกำลังให้เต็มอัตรา ตามแผนป้องกันประเทศ การคัดเลือกกำลังพลสำรองเพ่ือบรรจุในหน่วยทหารจึงถือว่ามีความจำเป็น อย่างยิ่ง ทั้งนี้ นักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ ๓ บรรจุอยู่ในบัญชีบรรจุกำลังตาม พ.ร.บ.กำลังพลสำรอง พ.ศ.๒๕๕๘ จัดเป็นประเภทกำลังพลสำรองพร้อมใช้งาน ผ่านการปลูกฝังและเสริมสร้างอุดมการณ์ ความรักชาติ ศึกษาวิชาการทหาร ภารกิจกองทัพ ดังนั้น ความสำคัญของกำลังสำรองที่กล่าวมา ตลอดจนวัตถุประสงค์ของการวิจัย จำเป็นจะต้องศึกษาปัจจัยสำคัญที่จะทำให้เกิดแรงจูงใจที่เป็น ตัวกระตุ้นให้ผู้ที่สำเร็จการศึกษาวิชาทหารชั้นปีที่ ๓ ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยในครั้งนี้ เกิดความสมัครใจที่จะเข้ารับราชการเป็นทหารประจำการ รวมทั้งเพ่ือนำเสนอแนวทางในการเพ่ิม สิทธิพิเศษสำหรับนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ ๓ ในการสมัครสอบคัดเลือกเข้ารับราชการในเหล่าทัพ ผู้วิจัยใช้วิธีดำเนินการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์ โดยมุ่งเน้นศึกษาข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และการวิจัยเชิงปริมาณที่มุ่งเน้นการจัดทำแบบสอบถามที่มี ประสิทธิภาพครอบคลุมทางด้านสังคมและจิตวิทยา เพ่ือสำรวจความคิดเห็นโดยตรงจากนักศึกษา วิชาทหาร ชั้นปีที่ ๓ โดยได้ทราบถึงปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดแรงจูงใจ อาทิ การเพ่ิมแรงจูงใจด้านอัตรา เงินเดือน การปรับรูปแบบลำดับชั้นและสายการบังคับบัญชาให้มีระดับความเข้มงวดตามลักษณะงาน และขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน หลักการ และแนวทางด้านการจัดการ ทรัพยากรบุคคลโดยทั่วไป การสร้างหน่วยงานที่มีความทันสมัย ในการนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการ วิจัยครั้งต่อไป ควรจัดทำในลักษณะของโครงการวิจัยระยะยาวที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ การดำเนินงาน เปิดรับสมัครกลุ่มตัวอย่างที่มีความสนใจที่จะมีส่วนร่วมในการวิจัย โดยนำเสนอสิ่งที่ กลุ่มตัวอย่างจะได้รับจากการวิจัย อาทิ การศึกษาดูงานในหน่วยงานทหาร การฝึกงานในหน่วยทหาร เพ่ือให้เกิดความเข้าใจ การเข้าถึงอาชีพทหาร ส่งผลให้งานวิจัยประสบความสำเร็จและได้ผลลัพธ์ที่ตรง ตามวัตถุประสงค์ สามารถนำมาขยายผลและกำหนดทิศทางด้านทรัพยากรบุคคลของกองทัพได้
abstract: