สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
020885
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000060
เรื่อง:
โครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงมีผลกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดตราด,(วปอ.10306)
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี อภิรัชฎ์ รามนัฎ,(วปอ. 10306)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
ก บทคัดย่อ เรื่อง โครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงมีผล กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดตราด ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี อภิรัชฎ ์ รามนัฎ หลักสตูร วปอ. รุน่ที่ ๖๖ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหาอุปสรรค ความเดือดร้อน และความต้องการ ของเกษตรกรในพื้นท่ีจังหวัดตราด ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีของ โครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ๓) เพื่อเสนอแนวทางการ พัฒนา และการเข้าส่งเสริมโครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลส าคัญในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วย เกษตรกรในพื้นท่ี จังหวัดตราด และก าลังพลของหน่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต หน่วยพัฒนาการเคล่ือนท่ี ๑๔ ส านักงาน พัฒนาภาค ๑ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ซึ่งเป็นหน่วยเข้าด าเนินการส่งเสริมโครงการเกษตร ผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะสามารถมองเห็นภาพลักษณ์ของ เกษตรกรผู้ได้รับการส่งเสริมโครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงมี ผลกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นท่ี จังหวัดตราด ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากกระบวนการท่ีผ่านมาการเข้า ส่งเสริมโครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากผู้ให้ข้อมูล ส าคัญท้ัง ๑๕ คน พบว่าเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีทั้งหมด ๑๑ คน และอีก ๔ คน ไม่เข้าร่วม โครงการ ด้วยเหตุผล ท าการเกษตรต้ังแต่รุ่นพ่อแม่ จากรุ่นสู่รุ่น จึงไม่มีความคิดท่ีจะเข้ าร่วม กลัวค่าใช้จ่ายและต้นทุนท่ีเพิ่มมากขึ้น กลัวความยุ่งยากของการเรียนรู้ ควรส่งเสริมการพัฒนาด้าน การจัดองค์ความรู้ท่ีเกิดขึ้นในองค์กร และการเสริมสร้างทักษะ ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว เพราะ เมื่อมีการปรับเปล่ียนบุคลากรจะท าให้ความรู้ท่ีเกิดขึ้นหายไปกับบุคลากรนั้ น ๆ ด้วย ท าให้คนท่ีมา ใหม่ต้องเริ่มต้นใหม่ทุกครั้ง รวมถึงส่งเสริมงานวิจัยและการเผยแพร่องค์ความรู้ท่ีเหมาะสมกับชุมชน ควรมีนโยบายด้านการส่งเสริมอาชีพทางการเกษตร โดยเน้นท่ีระบบเกษตรอัจฉริยะ ( Smart Farming) เนื่องจากเป็นระบบท่ีมีประสิทธิภาพและสามารถช่วยเหลือเกษตรกรได้จริง
abstract: