Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: โครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงมีผลกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดตราด,(วปอ.10306)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี อภิรัชฎ์ รามนัฎ,(วปอ. 10306)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง โครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงมีผล กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดตราด ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี อภิรัชฎ ์ รามนัฎ หลักสตูร วปอ. รุน่ที่ ๖๖ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหาอุปสรรค ความเดือดร้อน และความต้องการ ของเกษตรกรในพื้นท่ีจังหวัดตราด ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีของ โครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ๓) เพื่อเสนอแนวทางการ พัฒนา และการเข้าส่งเสริมโครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลส าคัญในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วย เกษตรกรในพื้นท่ี จังหวัดตราด และก าลังพลของหน่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต หน่วยพัฒนาการเคล่ือนท่ี ๑๔ ส านักงาน พัฒนาภาค ๑ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ซึ่งเป็นหน่วยเข้าด าเนินการส่งเสริมโครงการเกษตร ผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะสามารถมองเห็นภาพลักษณ์ของ เกษตรกรผู้ได้รับการส่งเสริมโครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงมี ผลกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นท่ี จังหวัดตราด ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากกระบวนการท่ีผ่านมาการเข้า ส่งเสริมโครงการเกษตรผสมผสานตามแนวทางพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากผู้ให้ข้อมูล ส าคัญท้ัง ๑๕ คน พบว่าเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีทั้งหมด ๑๑ คน และอีก ๔ คน ไม่เข้าร่วม โครงการ ด้วยเหตุผล ท าการเกษตรต้ังแต่รุ่นพ่อแม่ จากรุ่นสู่รุ่น จึงไม่มีความคิดท่ีจะเข้ าร่วม กลัวค่าใช้จ่ายและต้นทุนท่ีเพิ่มมากขึ้น กลัวความยุ่งยากของการเรียนรู้ ควรส่งเสริมการพัฒนาด้าน การจัดองค์ความรู้ท่ีเกิดขึ้นในองค์กร และการเสริมสร้างทักษะ ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว เพราะ เมื่อมีการปรับเปล่ียนบุคลากรจะท าให้ความรู้ท่ีเกิดขึ้นหายไปกับบุคลากรนั้ น ๆ ด้วย ท าให้คนท่ีมา ใหม่ต้องเริ่มต้นใหม่ทุกครั้ง รวมถึงส่งเสริมงานวิจัยและการเผยแพร่องค์ความรู้ท่ีเหมาะสมกับชุมชน ควรมีนโยบายด้านการส่งเสริมอาชีพทางการเกษตร โดยเน้นท่ีระบบเกษตรอัจฉริยะ ( Smart Farming) เนื่องจากเป็นระบบท่ีมีประสิทธิภาพและสามารถช่วยเหลือเกษตรกรได้จริง

abstract: