เรื่อง: การขับเคลื่อน พัฒนา และเสนอแนะ นโยบายการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ,(วปอ.10301)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อนุชา เทียนชัย,(วปอ. 10301)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคดัย่อ
เร่ือง การขบัเคล่ือน พฒันา และเสนอแนะ นโยบายการท่องเท่ียวส าหรับ
นกัท่องเท่ียวผูสู้งอายโุดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายอุตสาหกรรมการ
ท่องเท่ียวประเทศไทยนกัท่องเท่ียวกลุ่ม Silver Age
ลกัษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายอนุชา เทียนชยั หลกัสูตร วปอ. รุ่นที่ 66
การวิจัยเชิงปฏิบัติการน้ี มีว ัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบท สภาพการณ์ ปัญหา
อุปสรรค ความตอ้งการ และแนวทางการพฒันาการท่องเท่ียวส าหรับนักท่องเท่ียวผูสู้งอายุ กลุ่ม Silver
Age 2) ศึกษาพฤติกรรม อาการประจ าตัว และแนวทางการดูแลผูสู้งอายุในต่างประเทศ และ 3) หา
แนวทางการขบัเคล่ือนพฒันาและเสนอนโยบายการท่องเท่ียวส าหรับนักท่องเท่ียวกลุ่ม Silver Age โดย
การมีส่วนร่วมของเครือข่ายอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน ผูมี้ส่วน
เก่ียวขอ้งเจาะจงกลุ่ม เครือข่ายอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวประเทศไทย ประกอบดว้ย หน่วยงานภาครัฐ 5
หน่วยงาน หน่วยงานภาคเอกชน 5 องค์กร กลุ่มผู ้ประกอบการธุรกิจในแหล่งท่องเท่ียว 5 สถาน
ประกอบการ และประชาชน 5 คน ด าเนินการ 3 ขั้นตอน ขั้นท่ี 1 การศึกษาขอ้มูลเพื่อการวางแผน ขั้นท่ี 2
การปฏิบัติการและสังเกตผล และ ขั้นท่ี 3 การสะท้อนผลกระบวนการ เก็บข้อมูลโดยการวิเคราะห์
เอกสาร การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม ตามหลกัการยืนยนัขอ้มูลแบบสามเส้า วิเคราะห์ขอ้มูลดว้ย
การวิเคราะห์เน้ือหา
ผลการวิจยัพบว่า 1) ประเทศไทยเป็นท่ียอมรับจากนักท่องเท่ียวว่ามีศกัยภาพด้านการ
ท่องเท่ียวเพราะมีภูมิประเทศ มรดกวฒันธรรมตามแหล่งของภูมิวฒันธรรมท่ีมีความเป็นพหุวฒันธรรม
สวยงามหลากหลาย วฒันธรรมอาหารโดดเด่น ได้รับการยอมรับด้านการแพทย์และสมุนไพร มี
โครงสร้างพื้นฐานครอบคลุม แหล่งท่องเท่ียวมีส่ิงอ านวยความสะดวกบริการนกัท่องเท่ียวกลุ่มผูสู้งอายุ
และคนพิการ แต่ควรมีการซ่อมบ ารุงให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์เสมอ มีสถานท่ีพกัให้เลือกในมาตรฐาน
หลากหลาย มีกิจกรรมการท่องเท่ียวท่ีขึ้นอยู่กบัแหล่งท่องเท่ียว มีงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐให้มี
การพฒันากิจกรรมการท่องเท่ียวอย่างต่อเน่ือง และกฎหมายการท่องเท่ียวเหมาะสมแต่มีบางประเด็นท่ี
สร้างข้อจ ากัดทางธุรกิจ 2) ผูมี้ส่วนเก่ียวข้องเสนอแผนการขับเคล่ือนนโยบายการท่องเท่ียวส าหรับ
นักท่องเท่ียวผูสู้งอายุ (นักท่องเท่ียวกลุ่ม Silver Age) โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายอุตสาหกรรมการ
ท่องเท่ียวประเทศไทย 4 กลยุทธ์ ประกอบดว้ย การเตรียมคน การพฒันาแหล่งท่องเท่ียว การปรับปรุงขอ้
กฎหมาย และการส่ือสารภาพลักษณ์ 3) ควรน าเสนอผลการวิจัยต่อหน่วยงานภาครัฐท่ีมีอ านาจใน
ข
ด าเนินการเผยแพร่นโยบายการท่องเท่ียวส าหรับนักท่องเท่ียวผูสู้งอายุ (นักท่องเท่ียวกลุ่ม Silver Age)
และควรด าเนินการเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ท่ีมีความเป็น Official เพื่อสร้างการรับรู้ในวงกวา้ง
abstract:
ค
Abstract
Title The Driving, developing, and recommending tourism policies for Aging Tourists
through the participation of the Thailand Tourism Industry Network: Silver Age
tourists
Field Economics
Name Mr. Anucha Thianchai Course NDC Class 66
This action research aims to: 1) study the context, conditions, problems, obstacles,
needs, and approaches for tourism development for elderly tourists (Silver Age group), 2) explore
behavior patterns and care approaches for the elderly abroad, and 3) propose methods to drive
tourism development and policies for Silver Age tourists through collaboration with the tourism
industry network, government agencies, and private sector organizations. Four groups of
stakeholders were purposively selected, including 5 government agencies, 5 private sector
organizations, 5 groups of business operators in tourist destinations and establishments, and 5
citizens. The research involved three key actions: 1) collecting information for planning, 2) taking
action and observing results, and 3) reflecting on process outcomes. Data were gathered through
document analysis, interviews, and focus groups, using triangulation to confirm the findings, and
analyzed via content analysis.
The results indicate that Thailand is recognized for its tourism potential due to its
geography, cultural heritage, multiculturalism, renowned food culture, and its reputation for
medical and herbal treatments. The country has well-developed infrastructure, with tourist
attractions providing facilities for elderly and disabled tourists, although regular maintenance is
necessary. A wide range of accommodation options is available, and tourism activities are closely
tied to specific attractions. The government provides funding for the continuous development of
tourism activities, while existing tourism laws are generally appropriate, though some regulations
pose limitations for businesses. Stakeholders have proposed a policy framework to promote
tourism for elderly tourists through the participation of the tourism industry network, focusing on
four strategies: preparing people, developing tourist attractions, improving laws, and enhancing
image communication. The research findings should be presented to relevant government
ง
agencies responsible for promoting tourism policies for elderly tourists and disseminated via
official online channels to raise public awareness.