Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาการดำเนินงานตามกระบวนการงบประมาณของกองทัพบก กรณีศึกษากองทัพบก,(วปอ.10293)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เสิมศักดิ์ แก้วฉาย,(วปอ. 10293)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาการด าเนินงานตามกระบวนการงบประมาณของกองทัพ กรณีศึกษากองทัพบก ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี เสิมศักดิ์ แก้วฉาย หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66 การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาการด าเนินงานตามกระบวนการ งบประมาณของกองทัพ กรณีศึกษากองทัพบก ในด้านการจัดท าค าของบประมาณ การบริหาร งบประมาณ การประเมินผลและการรายงาน 2. เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการด าเนินงานตามกระบวนการ งบประมาณของกองทัพ กรณีศึกษากองทัพบก 3. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการด าเนินงาน ตามกระบวนการงบประมาณของกองทัพ กรณีศึกษากองทัพบก รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิง คุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 18 ท่าน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา รวมท้ังใช้หลักการ จ าแนกและจัดระบบข้อมูล โดยการวิเคราะห์เชิงสาเหตุและผล ขอบเขตการศึกษากระบวนการ งบประมาณ ประกอบด้วย การก าหนดวงเงินการจัดท าค าของบประมาณ การบริหารงบประมาณ และการประเมินผลและการรายงาน เพื่อเสนอแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณท่ีเหมาะสม และมีประสิทธิภาพในการบริหารงบประมาณ ผลการวิจัยพบว่า การด าเนินงานตามกระบวนการ งบประมาณของกองทัพบก ยังคงมีปัญหาหลายประการท่ีต้องการการแก้ไขและปรับปรุง ได้แก่ การประสานงานระหว่างหน่วยงาน การบูรณาการข้อมูล การก าหนดเป้าหมายและตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน การใช้เทคโนโลยี การฝึกอบรมบุคลากร การใช้ระบบงบประมาณฐานศูนย์ การสนับสนุนอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ และการปรับปรุงระบบการติดตามและรายงาน ซึ่งการด าเนินการตามแนวทางเหล่านี้ จะช่วยให้การจัดท างบประมาณของกองทัพบกมีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อความต้องการ ของหน่วยงาน และประเทศชาติได้อย่างแท้จริง ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการด าเนินงานตาม กระบวนการงบประมาณของกองทัพบก ได้แก่ การจัดท าแผนงานท่ีชัดเจนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาบุคลากร การสร้างระบบการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และการสร้างวัฒนธรรมองค์กรท่ีมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ เพื่อให้การด าเนินงาน มีประสิทธิภาพและโปร่งใส

abstract:

ข Abstract Title Development of operations according to the military budget process; Army case study Field Military Name MG. Sermsak Kaewchai Coures NDC Class 66 The objectives of this research are 1. to study the operations according to the military budget process; Army case study in terms of preparing budget requirement, budget management, evaluation and reporting 2. to analyze operational problems according to the Army's budget process. Army case study 3. to propose guidelines for operational development according to the military budget process Army case study. The research model is qualitative research. In-depth interviews with 18 experts’ persons. The instrument used in this research was a structured interview. Data analysis used content analysis methods including the principles of classifying and organizing information by analysis caused and effected. Scope for the study of the budget process includes setting a limit preparation of budget, requirement for Budget, budget management and evaluation and reporting. To present the ideas about appropriate and efficient budget processes in budget management. The results found that operating according to the Army's budget process still has many problems that need to be solving and improving, that are including coordination between the agencies. Data integration, targeting and clearing indicators, use of technology, personnel training using the zero-based budget system, supporting the defense industry and improving monitoring and reporting systems. Implementation of these guidelines will help the Army's budget preparation to be efficient and responsive to the requirement of the agency and the country entirely. The suggestions’ for developing operations according to the Royal Thai Army's budget process viz creating a clear plan according to the national strategy, developing the Information technology system, Personnel development, creation of a successive monitoring and evaluation systems and creating an organizational cultures that focuses on achievement to ensure efficient and transparent operations.