Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการดำเนินความร่วมมือด้านความมั่นคงทางการทหารกับมิตรประเทศของกระทรวง กลาโหมภายใต้การแข่งขันทางยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ,(วปอ.10288)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สุระ สายอุบล,(วปอ. 10288)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการด าเนินความร่วมมือด้านความมั่นคงทางการทหารกับมิตรประเทศ ของกระทรวงกลาโหมไทยภายใต้การแข่งขันทางยุทธศาสตร์ระหว่าง ประเทศมหาอ านาจ ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย พลตรี สุระ สายอุบล หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖ งานวิจัยช้ินนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางในการด าเนินความร่วมมือด้านความมั่นคง ทางการทหารกับมิตรประเทศของกระทรวงกลาโหมไทยภายใต้การแข่งขันทางยุทธศาสตร์ระหว่า ง ประเทศมหาอ านาจ โดยการศึกษาเน้นไปท่ีการด าเนินนโยบายต่างประเทศและยุทธศาสตร์ด้านความ มั่นคงของประเทศมหาอ านาจ ได้แก่ สหรัฐฯ จีน และรัสเซีย ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้ง ในแต่ละภูมิภาค เพื่อวิเคราะห์ถึงผลกระทบ โอกาสและความท้าทายท่ีมีต่อไทยเพื่อทบทวนกรอบ แนวทางในการด าเนินกิจกรรมความร่วมมือกับมิตรประเทศของกระทรวงกลาโหมในปัจจุบันและ เสนอแนะแนวทางการด าเนินความร่วมมือด้านความมั่นคงด้านการทหารกับมิตรประเทศ การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยขอบเขตการศึกษาเฉพาะรายงานเกี่ยวกับการด าเนินนโยบาย และยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงของประเทศมหาอ านาจ ท่ีส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของ ไทย และสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลส าคัญจากกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหมและส านักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ จากการศึกษาพบว่ากระทรวงกลาโหมควรวางยุทธศาสตร์การด าเนิน ความสัมพันธ์กับ ๓ กลุ่มประเทศเป้าหมายได้แก่ ๑. กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ความร่วมมือ ด้านการทหารของไทยต่อประเทศอาเซียนยังจ ากัดอยู่ ดังนั้นควรให้ความส าคัญให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะประเทศรอบบ้านท่ีมีอาณาเขตติดกับประเทศไทย ด้วยการริเริ่มให้มีการจัดท าบันทึก ความเข้าใจหรือข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางทหารกับประเทศท่ียังไม่มีการด าเนินการ ให้ สอดคล้องกับงบประมาณท่ีมีอยู่ ๒. กลุ่มประเทศมหาอ านาจและประเทศส าคัญทางยุทธศาสตร์ ภายใต้กรอบการประชุม ADMM – Plus ซึ่งเป็นประเทศท่ีมีบทบาทส าคัญทางการเมืองระหว่าง ประเทศ ตลอดจนมีศักยภาพสูงในหลายมิติท้ังด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและการทหารโดยสามารถ ใช้ศักยภาพดังกล่าวมาสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถของประเทศและกองทัพ และ ๓. กลุ่มประเทศท่ีมีผลประโยชน์ด้านความมั่นคงต่อไทยบนพื้นฐานของผลประโยชน์แห่งชาติ อาทิประเทศมุสลิมและเป็นสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) เพื่อใช้โอกาสในการช้ีแจง และท าความเข้าใจบทบาทของกองทัพในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมท้ัง มิตรประเทศ ท่ีมีศักยภาพด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ แต่ควรค านึงถึงความพร้อมของท้ัง ๒ ฝ่ายเนื่องจาก มีความแตกต่างกันท้ังในเรื่องภาษา วัฒนธรรมและหลักนิยม ฯลฯ ซึ่ งจะก่อให้เกิดผลดีต่อ การเสริมสร้างพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพท้ังในด้านการจัดหายุทโธปกรณ์ การพัฒนา อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และการวิจัยและพัฒนาทางทหารของไทย ข และเนื่องจากประเทศไทยมีผลประโยชน์กับแต่ละประเทศท่ีแตกต่างกัน จึงควรต้อง ด ารงบทบาทอย่างสมดุลและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด เนื่องจากมีผลประโยชน์ร่วมกันกับแต่ละประเทศ ท่ีแตกต่างกัน แต่อาจแสดงบทบาทเชิงรุกในประเด็นในภูมิภาคบนพื้นฐานของกฎหมายระหว่าง ประเทศและบรรทัดฐานโลก เช่น การให้ความช่วยเหลือในวิกฤตมนุษยธรรมในเมียนมา การเป็น ตัวกลาง/ผู้อ านวยความสะดวก (Facilitator) ในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในเมียนมา และ การต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง ส าหรับแนวทางการด าเนินความร่วมมือ ด้านความมั่นคงทางการทหารจะต้องสอดคล้องกับนโยบายด้านการต่างประเทศในการสร้างสมดุล ในทุกมิติ และต้องด ารงไว้ซึ่งแนวความคิดทางยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม ได้แก่ การสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง การผนึกก าลังป้องกันประเทศและการป้องกันเชิงรุก

abstract:

ค Abstract Title Guidelines of the military security cooperation with foreign nations of the Ministry of Defence of Thailand amidst strategic competition among major powers. Field Political Name Major General Sura Saiubol Course NDC Class 66 This research aims to find strategies for military cooperation with foreign nations of the Ministry of Defence of Thailand amidst strategic competition among major powers. The study focuses on foreign policy and security strategies of major powers such as the United States, China, and Russia in different regional contexts amid conflict situations. It analyzes the impacts, opportunities, and challenges posed to Thailand to reassess frameworks for cooperation activities with foreign nations under the Ministry of Defence. This qualitative research specifically investigates policy implementation and security strategy implications affecting Thailand's security. Key informant interviews from the Ministry of Foreign Affairs, Ministry of Defence, and the Office of the National Security Council are crucial components of this study. Based on the study, the Ministry of Defence should strategize its relations with three target groups of countries First, ASEAN Member States: Thailand's military cooperation with ASEAN countries remains limited. Therefore, it should prioritize enhancing these relationships, especially with neighboring countries that share borders with Thailand. This could involve initiating memorandum of understanding or agreements on military cooperation where such frameworks do not currently exist, aligning with available budgets. Second, Major Powers and Strategic Partners : Within the framework of ADMM-Plus meetings, these countries play crucial political roles internationally and possess high potential in economic, technological, and military dimensions. Thailand can leverage these capabilities to support its national development and military capacity-building. Third, Countries of Strategic Interest: These include Muslim-majority nations and members of the Organization of Islamic Cooperation (OIC). Thailand should utilize opportunities to clarify and promote the military's role in addressing issues in the southern border provinces. Additionally, it should consider potential strategic partnerships in industrial defense capabilities, while acknowledging cultural, linguistic, and ideological differences between parties. Each strategy aims to bolster ง Thailand's military capabilities through equipment procurement, industrial defence development, and military research and development. Therefore, due to Thailand's varying benefits to different countries, it is essential to maintain a balanced role without favoring any particular side. This approach ensures mutual benefits with each country based on regional laws and global norms. For instance, Thailand could act as a facilitator in resolving humanitarian crisis in Myanmar, a mediator in addressing regional unrest in Myanmar, and combating transnational crime in the Mekong River Basin. Regarding military security cooperation, strategies must align with foreign policy to achieve balance in all dimensions. The Ministry of Defence's strategic thinking on national defence should focus on fostering cooperation in security, integrating defence forces, and proactive defence measures.