Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัจจัยที่มีผลต่อการคงอยู่ในระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ พรชัย จันศิษย์ยานนท์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการคงอยู่ในระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย ์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั รศ.ทพ. พรชัย จันศิษย์ยานนท์ หลักสูตรวปอรุ่นที่57 ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์โดยเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ และพยาบาล ในประเทศไทย ยงัคงเป็นปัญหาเร้ือรัง ซ่ึงการขาดแคลนที่เกิดข้ึนจะส่งผลกระทบท้งัในระบบ ราชการและระบบเอกชน ซึ่งการขาดแคลนด้านก าลังคนจะเป็ นปัญหาที่รุนแรงมากใน 3จังหวัด ชายแดนภาคใต้อนั เนื่องมาจากการเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในพ้ืนที่3จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเกิดเหตุนับต้งัแต่ปี2557 เป็ นต้นมา การขาดแคลนบุคลากรดังกล่าวส่งผลให้การบริ หารงาน สาธารณสุขขาดความต่อเนื่อง ไม่สามารถท าได้ตามแผนของกระทรวงสาธารณสุข งานวิจยัฉบบั น้ีจดัทา ข้ึนมาเพื่อศึกษาถึงปัจจยัที่ส่งผลกระทบต่อการคงอยู่ของ แพทย์ ทันตแพทย์ และ เภสัชกร ใน 3จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยการวิจยัคร้ังน้ีจะเป็นการวิจยัเชิงปริมาณ และ คุณภาพ โดยเครื่องมือที่ใชใ้นการวิจยัจะเป็นแบบสอบถามที่ผวู้ิจยัจะสร้างข้ึนมาโดยพฒั นาจาก การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการคงอยู่ของบุคลากรทางการแพทย์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ การมีภูมิล าเนาใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ การได้รับโอกาสศึกษา ในโครงการพิเศษ ค่าตอบแทนที่สูงและอัตราก าลังคนที่เหมาะสมเป็ นแรงจูงใจให้ไม่ลาออก มากกว่า ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากนโยบายหรือปัจจัยข้ออื่นๆ โดยสรุป จากการวิจยัฉบบั น้ีพบว่ารัฐบาลควรสนบั สนุนใหค้ นในพ้ืนที่ไดร้ับ โอกาสเข้า ศึกษาต่อในโครงการพิเศษโซ่ึงคนเหล่าน้ีมีแนวโน้มสูงที่จะปฏิบตัิงานอย่างต่อเนื่องใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ และควรมีการสนับสนุนค่าตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อเป็ นการจูงใจให้บุคลากร ทางการแพทย์คงอยู่ในระบบราชการในการจัดท านโยบายต่างๆที่มีผลต่อการบริหารจัดการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ควรมีการรับฟังความคิดเห็นของ บุคลากรทางการแพทยใ์นพ้ืนที่ก่อนการ จัดท าและ จากการศึกษาพบว่าปัจจยัที่อาจจะใหม้ีการยา้ยถิ่นฐานหรือลาออกก็คือ ความรุนแรงของ สถานการณ์ที่มากข้ึน ดังน้ัน ฝ่ายความมั่นคงของรัฐจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องควบคุมไม่ให้ สถานการณ์ความรุนแรงแย่ลง

abstract:

Abstract Title: Factors that influence the persistence of the bureaucracy of the medical staff in the three southern border provinces. Field: Psychological Society Name: Associate Professor Pornchai Jansisyanont Course: NDC Class: year 57 The shortage of medical personnel, especially doctors, dentists and nurses in the country remains a chronic problem. The shortage is going to affect both the government and private sectors. The shortage of manpower is a very serious problem in the three southern border provinces due to the unrest in the three southernmost provinces since 2547. The shortage of personnel is the reason why the continuity of health care administration cannot be done according to the plans of the Ministry of Health. This research was conducted to study the factors that affect the persistence of physicians, dentists and pharmacists in the three southern border provinces. This study is qualitative and quantitative research. The research questionnaires were built after the literature review. The results showed that the factors that affect the persistence of medical staff in the three southern border provinces were the local medical personnel, the opportunity to study in special projects, and the high compensation rates. The research can be concluded as follow: 1) the government should support people in the affected area to have the opportunity to study in the special project. 2) The proper compensation can induce the medical personnel to remain in the bureaucracy. 3) The medical personnel should be able to get involved in the policy preparation. 4). Last, the severity of the situation is the only factor that may make them relocate or resign from the affected rea. The security of the state is absolutely essential to control the violent situation.