เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาคำวินิจฉัยของศาลปกครองเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ,(วปอ.10269)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สัจจา เขม้นงาน,(วปอ. 10269)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาคาวินิจฉัยของศาลปกครองเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นายสัจจา เขม้นงาน หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖
การวิจัยนี้มีวัตถุประส งค์เพื่อศึกษาถึงยุทธศาสตร์ชาติ บทบาทของศาลปกครองและ ปัญหาอันเกิดจากคาวินิจฉัยของศาลปกครองเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้คาวินิจฉัย ของศาลปกครองมีคุณภาพมาตรฐานเป็นบรรทัดฐานเดียวกันให้หน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าที่ ของรัฐนาไปเป็นแนวทางการปฏิบัติราชการตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีขอบเขตของการวิจัยเป็นการศึกษาคาวินิจฉัยของศาลปกครอง และวิธีดาเนินการวิจัยใช้การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้บริหารศาลปกครอง ตุลาการศาลปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัยพบว่าศาลปกครองได้มีคาวินิจฉัยของศาลทั้งคาพิพากษาและคาสั่งในคดี เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติทั้งหกด้าน อย่างไรก็ตาม มีปัญหาอันเกิดจากคาวินิจฉัยของศาลปกครอง รวม ๓ ประการ ดังนี้ ๑. ปัญหาศาลมีคาวินิจฉัยที่แตกต่างกันในคดีที่มีข้อเท็จจริงทานองเดียวกัน ๒. ปัญหาคาวินิจฉัยคดีถึงที่สุดระหว่างศาลปกครองกับศาลยุติธรรมขัดแย้งกันหรือแตกต่างกันในคดี ที่มีข้อเท็จจริงเป็นเรื่องเดียวกัน ๓. ปัญหาคาวินิจฉัยของศาลปกครองมีข้อบกพร่องไม่สมบูรณ์ครบถ้วน และไม่ชัดเจนเท่าที่ควร แนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีดังนี้ ๑) ผู้บริหารศาลปกครองควรจ่าย สานวนคดีให้แก่องค์คณะตามหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน ๒) ดาเนินการเร่งรัดนาคดีที่มีแนวคาวินิจฉัย แตกต่างกันหลายแนวเข้าสู่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองชั้นต้น ๓) ตุลาการศาลปกครองควรแสวงหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมว่าคู่กรณีได้นาคดีที่มี ข้อเท็จจริงเป็นเรื่องเดียวกันยื่นฟ้องต่อศาลอื่นหรือไม่ หากมี อาจรอฟังผลคดีของอีกศาลหนึ่ง ก่อนนามาประกอบการพิจารณาคดีของศาลปกครอง ๔) จัดให้มีการรวบรวมแนวคาวินิจฉัยของ ศาลปกครอง ระบบสืบค้นข้อมูลการฟ้องคดีของคู่กรณี และระบบสืบค้นคาพิพากษาหรือคาสั่งศาล ซึ่งเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างศาลให้ใช้งานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ๕) ตุลาการศาลปกครองควร พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และความละเอียดรอบคอบในการจัดทาคาพิพากษาและ คาสั่งศาลมากยิ่งขึ้น ๖) ศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองควรนาแนวคาวินิจฉัยของศาลปกครอง ที่เป็นบรรทัดฐานออกเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าที่ของรัฐนาไปเป็น แนวทางการปฏิบัติราชการอันมีผลเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างแท้จริง
abstract:
Abstract
Title Guideline on the Solutions of Administrative Court Decisions to Promote and Support National Strategy Implementation
Field Politics
Name Mr. Satja Khamenngan Course NDC Class 66
This research has an objective to study the national strategy, the role of Administrative Court, and problems found in administrative court decisions in order to find solutions. These solutions will establish standards for administrative agencies and State officials to perform official duties in accordance with good governance to promote and support the national strategy implementation. The scope of research is the study of administrative court decisions. This research employs such methods as the analysis of data from documents and the interviews with Executives of Administrative Court, Administrative Judges, and related notable persons.
According to the research, there is evidence that the administrative court decisions in both court orders and judgments are involved with six national strategies. However, there are three main problems found in administrative court decisions, as follows: 1) the problem on the court decisions having different results on the same facts; 2) the problem on the conflicts of final decisions between the Courts of Justice and the Administrative Court in the case with the same facts; and 3) the problem on the ambiguity and impropriety of administrative court decisions. The recommended solutions are as follows: 1) the Executives of Administrative Court should distribute case file to chambers pursuant to the accurate regulation; 2) the court decisions having different results should be rapidly proposed to the General Assembly of Judges of the Supreme Administrative Court or the General Assembly of Judges of the Administrative Court of First Instance; 3) the Administrative Judges should inquire additional facts if the party file the same case to other courts. If so, the court may suspend the present case while another case is in trial; 4) the administrative court decisions should be collected and the search system of case information and administrative court decisions should be synchronized for convenience and expeditious; 5) the Administrative Judges should gain further knowledge, expertise, and caution in delivering judgments and orders; 6) the Administrative Court and the Office of Administrative Court should disseminate the Administrative Court decisions as the basis for administrative agencies and State officials in performing official duties in order to promote and support national strategy implementation for ultimate goal.