เรื่อง: แนวทางเชิงนโยบายการลดความเหลื่อมล้ำของประชาชนในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม,(วปอ.10263)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สยาม เตียวตรานนท์,(วปอ. 10263)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เร่ือง แนวทางเชิงนโยบายการลดความเหลื่อมล้้าของประชาชนในการเข้าถึงโครงสร้าง
พื้นฐานด้านโทรคมนาคม
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายสยาม เตียวตรานนท์ หลกัสูตร วปอ. รุ่นที่ 66
ผู้วิจัยได้ก้าหนดวัตถุประสงค์ในการวิจัย 3 ประการ ได้แก่ ประการที่ 1 เพื่อศึกษา
การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมของประชาชนไทยโดยเปรียบเทียบ
ตามปัจจัยพื้นฐาน ประการที่ 2 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ท้าให้เกิดความเหลื่อมล้้าในการเข้าถึงและการใช้
ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม และประการที่ 3 เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การลดความเหลื่อมล้้าของประชาชนในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม โดยมีประชากร
และกลุ่มตัวอย่างจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ดังนี้ 1. ส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน
2. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับโทรคมนาคม และ 3. ประชาชนผู้ใช้บริการโทรคมนาคม ทั้งนี้รูปแบบการวิจัย
นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิจัยที่นักวิจัยจะต้องลงไปศึกษาสังเกต สัมภาษณ์บุคคล หน่วยงาน
และกลุ่มบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดทุกด้านในลักษณะเจาะลึก ใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม
และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการเป็นหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้การ
วิเคราะห์เชิงเหตุผล และขอบเขตเวลาที่ท้าการศึกษา จะด้าเนินการวิจัยเป็นเวลา 5 เดือน ตั้งแต่
เดือนมกราคม พ.ศ. 2567 ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2567 มีผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ การลดความ
เหลื่อมล้้าของประชาชนในในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม สามารถสรุปผลออกมาได้
ดังนี้ 1. การวางรากฐานดิจิทัลของประเทศผ่านการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลของภาครัฐ
และการขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านของประเทศไทย รวมทั้งจัดให้
มีบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงสาธารณะเข้าถึงชุมชนเมืองในพื้นที่ที่ประชาชนมีรายได้น้อย 2. แก้ไข
ระบบเศรษฐกิจฐานราก โดยการน้าโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมมาแก้ปัญหาความเหลื่อมล้้า
สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างความรู้ และสร้างโอกาสให้กับประชาชนมากขึ้น 3. ในรูปแบบประเภทบริการ
5 ประเภท ได้แก่ (1) การจัดให้มีบริการ Wi-Fi สาธารณะประจ้าหมู่บ้าน (2) การจัดให้มีบริการศูนย์
อินเทอร์เน็ตสาธารณะ (ศูนย์ USO Net) (3) การจัดให้มีบริการห้องอินเทอร์เน็ตสาธารณะ (USO
Wrap) (4) การจัดให้มีบริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงส้าหรับโรงเรียน และ (5) การจัดให้มี
บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงส้าหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ้าต้าบล (รพ.สต.)
4. การส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการใช้ประโยชน์และรู้เท่าทันเทคโนโลยีดิจิทัล
5. แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้าง หรือเชิงระบบ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และการกระจายศูนย์กลาง
ความเจริญ
abstract:
ข
Abstract
Title Policy guidelines for reducing inequality in people's access to
telecommunications infrastructure
Filed Social - Psychology
Name Mr. Sayam Tiewtranon Course NDC Class 66
The researcher has set 3 research objectives: 1st, to study the Thai
people's access to and use of telecommunications infrastructure by comparing them
according to basic factors; 2nd, to analyze the factors that cause inequality in access
and utilization of telecommunications infrastructure and thirdly, to develop policy
recommendations for reducing inequality among citizens in accessing telecommunications
infrastructure. Population and sample of stakeholders as follows: 1. Government
agencies, private agencies, 2. Companies involved in telecommunications, and 3.
Citizens who use telecommunications services. This research format is qualitative
research that researchers must study and observe, interview individuals, agencies,
and groups of people who wish to study every aspect in detail in an in-depth
manner. Using participatory observation methods and informal interviews are the
main basis for data collection. Data analysis uses logical analysis and the time period
of the study will be conducted for 5 months from January 2024 to May 2024. The
results of the research can be summarized as follows : Reducing inequality in
people's access to telecommunications infrastructure : 1. Laying the country's digital
foundation through investment in government digital infrastructure and expanding
the high-speed internet network to cover every village in Thailand including providing
public high-speed internet service to reach urban communities in areas where
people have low incomes. 2. Fix the grassroots economic system by using
telecommunications infrastructure to solve the problem of inequality. Create
additional value, create knowledge, and create more opportunities for the people.
3. In the form of 5 types of services: (1) Providing public Wi-Fi services in the village
(2) Providing public Internet center services ( USO Net Center) (3) Providing public
internet room services (USO Wrap) (4) Providing high speed internet signal service for
schools and (5) Providing high speed internet signal service for Subdistrict Health
Promoting Hospitals (Subdistrict Health Promoting Hospitals). 4. Promoting people's
quality of life. Improved by making use of and being knowledgeable about digital
technology. 5. Solve structural or systematic problems, related regulations. and
decentralization of prosperity.