Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ด้วยเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน,(วปอ.10262)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมิทธิ์ ปราสาททองโอสถ,(วปอ. 10262)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เร่ือง การบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ด้วยเทคโนโลยี เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย พันตรี สมิทธิ์ ปราสาททองโอสถ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 66 การเติบโตของเศรษฐกิจ และปัจจัยการเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาคและจุลภาค น ามา ซึ่งการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมทุกประเภท โดยเฉพาะอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ซึ่งมีระดับ การเติบโตอย่างต่อเนื่อง อันมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงและการระบาดของโรคทั่วทุกภูมิภาค รวมถึงการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัจจัยดังกล่าวท าให้ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมทางการแพทย์ขยายตัว อย่างรวดเร็ว ทั้งในระดับโลกและประเทศไทย อย่างไรก็ตามการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมน ามา ซึ่งการใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงต่อความมั่นคงและความยั่งยืน ของประเทศเป็นอย่างยิ่ง ประเทศไทยได้ก าหนดยุทธศาสตร์ของชาติ 20 ปี เพ่ือการไปสู่เป้าหมาย พัฒนาประเทศอย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ซึ่งมีส่วนของการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงาน อย่างคุ้มค่าอยู่ด้วย แสดงให้เห็นถึงการตระหนักและเล็งเห็นถึงความส าคัญด้านการบริหารจัดการ ทรพัยากรและสิ่งแวดล้อมของประเทศเพ่ือให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุดและสร้างความยั่งยืนทั้งในระยะ สั้นและในระยะยาว กระทรวงอุตสาหกรรมได้น าแนวคิดดังกล่าวมาก าหนดเป็นนโยบายและผลักดัน ให้องค์กรอุตสาหกรรมทุกภาคส่วนขับเคลื่อนการบริหารจัดการองค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงอุตสาหกรรมทางการแพทย์ซึ่งมีแนวโน้มการเติบโตอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามยังมีช่องว่าง ของการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ภายในประเทศไทย เพ่ือให้สอดคล้องกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน งานวิจัยนี้จึงเป็นการศึกษาการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ด้วย เทคโนโลยีเทคโนโลยีเพ่ือสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เพ่ือเป็นต้นแบบในการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว ในบริบทโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ทุกมิติ ผ่านการใช้และคัดเลือกเครื่องมือเทคโนโลยี และ นวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อนามัยซึ่งการบริหารการใช้พลังงานและการจัดการของเสียที่มี ประสิทธิภาพ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยการวิจัยครั้งนี้ด าเนินการผ่านกระบวนการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยการศึกษางานวิจัยที่ผ่านมา การวิเคราะห์กระบวนการท างานองค์รวมของโรงงาน อุตสาหกรรมทางการแพทย์กรณีศึกษา การสัมภาษณ์ เชิงลึกผู้ เชี่ยวชาญซึ่งมีประสบการณ์ ประสบการณ์ในการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การด าเนินการพัฒนาระบบการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์โดยใช้เทคโนโลยีที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยบูรณาการและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 2 นวัตกรรม ได้แก่ กระบวนการ ติดตั้งระบบโซลาเซลล์และติดตามผลลัพธ์ และ กระบวนการรีไซเคิลขวดพลาสติกน้ าเกลือใช้แล้ว เป็นพาเลทชั้นวางของ นอกจากนี้มีการวิจัยเชิงปริมาณผ่านการวิเคราะห์ผลลัพธ์ก่อนและหลังการ ด าเนินงานบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์กรณีศึกษาโดยใช้นวัตกรรม ถึงผลลัพธ์ว่า มีค่าการพัฒนาในมิติต่าง ๆ ทั้ง 3 มิติ ด้านความยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ มิติเศรษฐกิจ สามารถ ข ลดการใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้งสิ้น 6,360,240 บาทต่อปี สามารถลดต้นทุนสั่งซื้อ พาเลทจากท้องตลาด 40% และสามารถสร้างรายได้จากการจ าหน่ายพาเลทประมาณ 10,000 อัน คิด เป็น 30,000,000 บาท ส าหรับมิติด้านสังคม โรงงานกรณีศึกษาได้เป็นศูนย์เรียนรู้แนวทาง การบริหารจัดการองค์กรโดยใช้พลังงานสะอาดและระบบรีไซเคิลให้หน่วยงานภายนอก รวมถึงมีการ ส่งมอบพาเลทรีไซเคิลที่ผลิตได้ให้ภาครัฐและชุมชนภายนอก ท้ายที่สุดคือ มิติด้านสิ่งแวดล้อมนั้น การด าเนินงานสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 645,240 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า และลดปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนจากกระบวนการผลิตได้เดือนละ 4,000 กิโลกรัม จะเห็นได้ว่าการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งผลต่อความยั่งยืนในทุกมิติซึ่งสามารถเป็นต้นแบบส าหรับการขยายผลใน การบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์อ่ืน ๆ ในประเทศไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามเพ่ือให้แนวคิดและตัวแบบดังกล่าวสามารถขยายผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมี ข้อเสนอแนะแนวทางส าหรับการพัฒนาต่อยอดโดยการสร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคเอกชนเพ่ือสนับสนุนทรัพยากรและสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมส าหรับ การบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ด้วยเทคโนโลยีเทคโนโลยีที่ เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมโดย ภาครัฐควรให้การสนับสนุนด้านนโยบายและโครงสร้างพ้ืนฐานต่อการขับเคลื่อน ระบบอุตสาหกรรมไทยให้สอดคล้องกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว น ามา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของโรงงานอุตสาหกรรมในแต่ละภาคส่วนของประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ภาคการศึกษา ควรมีกระบวนการวิจัย พัฒนาและอบรมความรู้และสร้างความเข้าใจเพ่ือให้โรงงาน อุตสาหกรรมและผู้ที่เกี่ยวข้องเล็งเห็นถึงความส าคัญ มีองค์ความรู้ในการขับเคลื่อนท าให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า ภาคเอกชน มีส่วนร่วมในการน าเทคโนโลยีและนวัตกรรม สมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้ภายในองค์กรเพ่ือแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและผลลัพธ์ในทิศทางที่ดีขึ้น รวมถึงการเป็นต้นแบบของความส าเร็จจากการใช้งานด าเนินธุรกิจจริง ซึ่งการร่วมมือของทุกภาคส่วน ทั้ง 3 องค์กรหลักของประเทศต้องมีมีการประสานงานร่วมมือกันเพ่ือให้การบริหารจัดการโรงงาน อุตสาหกรรมทางการแพทย์มีผลลัพธ์ที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมและขีดความสามารถขององค์กร สอดคล้อง กับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และกฎหมาย ในระยะยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

abstract:

ค Abstract Title The medical industry management through innovation for sustainability Field Science and Technology Name Major Smith Prasarttong-Osoth Course NDC Class 66 Economic growth and global changes at both macro and micro levels are driving the expansion of various industrial sectors, particularly the healthcare industry, which is experiencing continuous growth. This is due to the changing needs of the population, disease outbreaks across all regions, and the increasing elderly population. These factors are causing the medical industry to expand rapidly, both globally and in Thailand. However, this industrial expansion has led to the continuous use of natural resources and environmental degradation, posing serious risks to the country's sustainability. The Thai government has established a 20-year National Strategy (2018-2037) aimed at achieving stable, prosperous, and sustainable development. This strategy includes environmental conservation and cost-effective energy use, highlighting the importance of managing the country's resources and environment to minimize impacts and ensure sustainability in the short and long term. The Ministry of Industry has adopted this concept as a policy, encouraging industrial organizations in all sectors, including the medical industry, to pursue environmentally friendly management practices. Despite this growth, there is still a gap in the study of management practices for medical industrial plants in Thailand to align with sustainable environmental care. Therefore, this research focuses on managing medical industrial plants using technology for a sustainable environment, aiming to serve as a model for developing a green industry within the medical manufacturing sector. The study explores the use and selection of technological tools and environmentally friendly innovations to achieve efficient energy use and waste management under the concept of a circular economy. The research was conducted through a qualitative process, including a review of previous research, an analysis of the working process of a medical industrial factory (the case study), and in-depth interviews with experts experienced in managing environmentally friendly medical factories. Moreover, the case study was innovated using environmentally friendly technology, including two innovative technologies: a solar cell system and plastic saline bottle recycling. This represents the application of green technology and innovation in real industrial management. Additionally, quantitative research was ง conducted to analyze the results of implementing these environmentally friendly innovations. The findings indicate significant improvements in three dimensions of sustainability: Economic Dimension: Reduction in electricity use from the Provincial Electricity Authority, saving 6,360,240 baht per year, reduction in the cost of ordering pallets by 40%, and generation of income from selling approximately 10,000 pallets, equivalent to 30,000,000 baht. Social Dimension: The case study factory became a learning center for organizational management using clean energy and recycling systems for external agencies. Moreover, recycled pallets from this process were distributed to the government and surrounding industrial communities. Environmental Dimension: Reduction in greenhouse gas emissions by up to 645,240 kilograms of carbon dioxide equivalent and reduction in waste generated from the production process by 4,000 kilograms per month. These impactful results demonstrate that developing environmentally friendly management processes for medical industrial plants can significantly impact sustainability in all dimensions and serve as a model for other medical industrial plants in Thailand. To effectively extend such concepts and models, it is recommended to foster cooperation between the government, academic, and private sectors to support resources and create an appropriate environment for managing medical industrial plants with environmentally friendly technology. The government should provide policy and infrastructure support to align the Thai industrial system with environmental conservation goals in the short and long term, leading to concrete changes in industrial plants across various sectors. The education sector should engage in research, develop and train knowledge, and create understanding to ensure that industrial plants and stakeholders recognize the importance of driving change from upstream to downstream. The private sector should apply modern technology and innovation within organizations to demonstrate progress and achieve better outcomes. Successful business operations can then serve as a model for others. Cooperation among all sectors including government, academia, and private is essential to ensure the effective management of medical industrial plants, consistent with long-term social, economic, and legal contexts.