เรื่อง: นวัตกรรมการจัดการท่องเที่ยวคุณภาพสูง กรณีศึกษาเขตพื้นที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา,(วปอ.10256)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมเกียรติ วิริยะกุลนันท์,(วปอ. 10256)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เร่ือง นวัตกรรมการจัดการท่องเท่ียวคุณภาพสูง กรณีศึกษาเขตพื้นท่ีเขาใหญ่ จังหวัด
นครราชสีมา
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายสมเกียรติ วิริยะกุลนันท์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที ่ 66
งานวิจัยครั้ง มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือศึกษาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพสูง
ในเขตพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา 2) เพ่ือศึกษาการรับรู้กฎหมายและกระบวนทัศน์การบริหาร
การจัดการการท่องเที่ยวคุณภาพสูงในพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา และ3) เพ่ือเสนอแนวทาง
พัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยวคุณภาพสูงในเขตพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การท่องเที่ยวในเขตพ้ืนที่เขสใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
จ านวนทั้งสิ้น 30 คน มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Context Analysis) และ
สังเคราะหข์้อมูลทฤษฎีหลักการต่าง ๆ และน าเสนอข้อมูลแบบรายงานวิจัยเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า
1. แหล่งท่องเที่ยวเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา มีจุดแข็ง คือ มีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับ
นักท่องเที่ยวทุกเพศ ทุกวัย รวมถึงความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ เหมาะแก่การมาพักผ่อน แต่มี
จุดอ่อน ได้แก่ การคมนาคมขนส่งทั้งภาครัฐและเอกชนยังรองรับการบริการของนักท่องเที่ยวยังไม่
ครอบคลุมพ้ืนที่การท่องเที่ยว มาตรฐานการรับรองที่พักจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่มีการกวาดขัน
หรือใช้กฏหมายเข้ามารองรับ ร้านขายของที่ระลึกมีน้อย จึงท าให้ของที่ระลึกไม่เป็นที่รู้จักในหมู่
นักท่องเที่ยว 2. ด้านการบริหารจัดการ พบว่า ยังมีการบริหารจัดการที่ไม่ดีพอ ไม่ตอบสนองต่อความ
ต้องการของนักท่องเที่ยว ทั้งในด้านที่พัก ในด้านสถานประกอบการ ในด้านการบริการนักท่องเที่ยว
ในด้านสุขอนามัยและมาตรฐานความสะอาด ในด้านร้านค้า/ร้านขายสินค้าที่ระลึก และในด้าน
การคมนาคมขนส่ง และในภาพรวมของสภาพเศรษฐกิจในเขตพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
พบว่า เผชิญกับปัญหาสภาพเศรษฐกิจหลายประการในปัจจุบัน เช่น การพ่ึงพาการท่องเที่ยวเป็นหลัก
ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาที่ไม่สมดุล
การขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตร ความไม่เสถียรของระบบนิเวศ การขาดการสนับสนุนและ
นโยบายที่ชัดเจนจากภาครัฐ เป็นต้น 3. การรับรู้กฎหมายและกระบวนทัศน์การบริหารการจัดการ
การท่องเที่ยวคุณภาพสูงในเขตพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
การท่องเที่ยวคุณภาพสูงในพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ
กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการท่องเที่ยว เมื่อจ าแนกตามกลุ่ม พบว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐ
และผู้ประกอบการภาคเอกชน มีการรับรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวมากกว่าประชาชน
ที่อาศัยในพ้ืนที่ ทั้งนี้เนื่องมากจาก ความแตกต่างทางระดับการศึกษา การเรียนรู้และการตีความภาษา
ของกฎหมายที่เข้าใจได้ยาก 4. แนวทางพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยวคุณภาพสูง
ในเขตพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา จากข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ แบ่งเป็น 8 แนวทาง ได้แก่
4.1 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว 4.2 การส่งเสริมการท่องเที่ยว
ข
เชิงอนุรักษ์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4.3 การพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในเขต
พ้ืนที่ 4.4 การสร้างแบรนด์และการตลาดในดึงดูดความสนใจ 4.5 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือใน
การพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพ้ืนที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมาอย่างยั่งยืน 4.6 การพัฒนา
โครงสร้างพ้ืนฐานหรือสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน 4.7 การจัดท าโครงการวิจัยและพัฒนา เพ่ือหาโมเดล
ต้นแบบ 4.8 การสร้างสรรค์ประสบการณ์ท่องเที่ยววิถีใหม่
abstract:
ค
Abstract
Title Innovative Management of High-Quality Tourism: A Case Study of
the Khao Yai Area, Nakhon Ratchasima Province
Field Economics
Name Mr. Somkiet Wiriyakulnant Course NDC Class 66
Research’s objectives are 1) Investigate the potential of high-quality
tourism in the Khao Yai area, Nakhon Ratchasima Province, 2) Study the perception of
laws and management paradigms regarding high-quality tourism in the Khao Yai area,
Nakhon Ratchasima Province, and 3) Propose guidelines for developing innovative
management of high-quality tourism in the Khao Yai area, Nakhon Ratchasima
Province. A qualitative research methodology was employed, involving 30 participants
from government, private, and public sectors associated with tourism in the Khao
Yai area. Data were analyzed using content analysis, synthesized with various
theoretical principles, and presented in a descriptive research report. The research
findings are as follows: 1. The Khao Yai area in Nakhon Ratchasima Province has
strengths such as diverse activities suitable for tourists of all ages and rich natural
resources ideal for relaxation. However, weaknesses include inadequate
transportation services from both public and private sectors that do not fully cover
tourist areas, lack of accreditation standards for accommodations, insufficient
souvenir shops leading to unrecognized local souvenirs, and lack of enforcement of
relevant regulations. 2. Management issues include inadequate response to tourist
needs in terms of accommodations, business establishments, tourist services, hygiene
and cleanliness standards, and souvenir shops. The overall economic condition in the
Khao Yai area faces several challenges, including reliance on tourism, agricultural
price volatility, natural resource management, imbalanced development, agricultural
labor shortages, ecosystem instability, and lack of clear support and policies from the
government. 3. Regarding the perception of laws and management paradigms for
high-quality tourism in the Khao Yai area, it was found that stakeholders have
knowledge and understanding of relevant laws and regulations. Government officials
and private sector operators are more aware of tourism-related laws than residents,
due to differences in education levels and the complexity of legal language. 4. The
proposed guidelines for developing innovative management of high-quality tourism in
the Khao Yai area, based on the research findings, include eight strategies:
4.1 Utilizing digital technology in tourism management 4.2 Promoting eco-friendly and
ง
sustainable tourism 4.3 Developing tourism-related personnel in the area 4.4 Creating
branding and marketing to attract interest 4.5 Establishing collaborative networks for
sustainable tourism development in the Khao Yai area 4.6 Improving infrastructure
and basic utilities 4.7 Conducting research and development projects to create
model prototypes 4.8 Creating new tourism experiences