เรื่อง: แนวความคิดในการพัฒนาระบบการจัดหาทหารกองประจำการของกองทัพบก,(วปอ.10250)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ศักดิ์เสมา พงศ์กลัด,(วปอ. 10250)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เร่ือง แนวความคิดในการพัฒนาระบบการจัดหาทหารกองประจำการของกองทัพบก
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย พลตรี ศักด์ิเสมา พงศกลัด หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๖
การวิจัยในครั้งน้ี เพื่อศึกษาวิเคราะหระบบการจัดหาทหารกองประจำการของกองทัพบก
ในปจจุบันและตางประเทศ และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบการจัดหาทหารกองประจำการของ
กองทัพบก โดยขอบเขตการวิจัย คือ ศึกษาเกี่ยวกับระบบการจัดหาทหารกองประจำการของกองทัพบก
และตางประเทศ ซ่ึงประชากรในการวิจัยครั้งน้ี คือ ผูมีสวนเกี่ยวของกับระบบการจัดหาทหาร
กองประจำการของกองทัพบก โดยกลุมตัวอยางซ่ึงเปนผูใหขอมูลสำคัญน้ัน ใชการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง
โดยแบงออกเปน ๒ กลุม กลุมแรก ระดับนโยบาย ไดแก ผูบังคับบัญชาระดับสูงในกองทัพบก จำนวน
๔ ทาน และกลุมที่สอง ระดับอำนวยการ ไดแก ผูบังคับบัญชาในกรมฝายเสนาธิการและกรมฝายกิจการ
พิเศษที่เกี่ยวของ จำนวน ๘ ทาน ผลการวิจัยสรุปไดวา ระบบการจัดหาทหารกองประจำการของ
กองทัพบกมีบริบทที่สำคัญ คือ ความสำคัญ การกำหนดความตองการ การเตรียมการ วิธีการ ข้ันตอน,
ผลการจัดหา การสงเขากองประจำการ กับการรับราชการกองประจำการและการปลด สวนการ
เปรียบเทียบระบบการจัดหาทหารกองประจำการของกองทัพบกกับตางประเทศ จำนวน ๘ ประเทศ ซ่ึงมี
ทั้งประเทศที่ใชระบบเกณฑ กับประเทศที่ใชระบบสมัครใจ โดยประเทศเหลาน้ีมีปจจัยทั้งจากภายนอก
ประเทศและภายในประเทศที่สงผลตอการรับบุคคลเขาเปนทหารกองประจำการ โดยปจจัยภายนอก
ประเทศ ไดแก ภัยคุกคามทางทหาร และความชวยเหลือจากพันธมิตร สวนปจจัยภายในประเทศ ไดแก
ลักษณะทางภูมิศาสตร เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมจิตวิทยา รวมถึงไดแนวทางการพัฒนาระบบ
การจัดหาทหารกองประจำการของกองทัพบก โดยมีแนวคิด คือ กองทัพบกใชระบบการจัดหาทหาร
กองประจำการดวยความสมัครใจเปนหลัก ดวยการดำเนินการ ๔ แนวทาง ไดแก การทบทวนและปรับปรุง
ความตองการทหารกองประจำการ การผสานและบูรณาการแรงจูงใจใหกับทหารกองประจำการ การนำ
เทคโนโลยีมาสนับสนุนระบบงาน และการพัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบัติ ทั้งน้ี ผูวิจัย
มีขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ คือ ทุกหนวยตองใสใจ ใชงาน และปฏิบัติตอทหารกองประจำการ
ใหเหมาะสม ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ ทุกภาคสวนตองใหความรวมมือ รัฐบาลใหการสนับสนุน
สรางการยอมรับ และทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวของ ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป คือ ศึกษาแนวทาง
สำหรับการนำบุคคลเขาทำหนาที่ทหารเปนการชั่วคราวในตำแหนงอัตราทหารกองประจำการ (สิบตรี
กองประจำการ) ทดแทนการตรวจเลือก และศึกษาเปรียบเทียบระบบการฝกทหารใหมแบบแยกการ
กับระบบการฝกทหารใหมแบบรวมการ
abstract:
ข
Abstract
Title Concept of the Royal Thai Army's Private Recruitment System
Development
Field Military
Name Major General Suksema Pongklad Course NDC Class 66
This study aims to analyze the current Private Recruitment System (PRS)
of the Royal Thai Army (RTA) and aboard and provides guidelines for the RTA's PRS
development. The scope of this study is to examine the PRS within RTA and abroad.
The population is made up of people involved in the PRS of RTA. The samples are utilized
in purposive sampling and are divided into two groups. The first group is at the policy
level, which consists of four senior RTA commanders, and the other group is at the
administrative level, which consists of eight commanders of related general staff and
special affairs. This study indicates that the PRS of RTA has important contexts: importance,
determination of needs, preparation, methods, procedures, recruiting results, sending
private into active-duty units with service, and discharging. In the comparison of eight
countries that utilize voluntary private recruitment or conscription, there are both external
and internal factors that impact those who intend to join the Army. The external factors
are military threats and alliance support. The internal factors are geography, economics,
politics, and social psychology. The guideline for the RTA's PRS development should focus
on voluntary private recruitment by using four conceptions: reviewing and improving
private demand, integrating incentives for privates, using technology support, and developing
and changing practical methods. We provide a practical implication that every unit must pay
attention to, use, and treat privates appropriately, as well as a policy implication that all
sectors must collaborate and the government must support, create acceptance, and review
related laws. Additionally, we recommend that future researchers study guidelines for
enlisting temporary privates (Private First Class) in place of conscription and compare
integration training and separation training for new recruits.