Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อการขับเคลื่อนกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร,(วปอ.10244)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ศรีวัลลภา อนันทวรรณ,(วปอ. 10244)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เร่ือง การพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อการขับเคลื่อน กองอ านวยการ รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นางศรีวัลลภา อนันทวรรณ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖ ความมั่นคงภายในราชอาณาจักรเป็นสิ่งส าคัญและจ าเป็นของทุกประเทศ เป็นความ ต้องการพ้ืนฐานของประชาชนที่ต้องการความรู้สึกว่ามีความปลอดภัยในการด ารงชีวิต ได้รับ การป้องกันจากภัยอันตรายต่าง ๆ ต่อชีวิตและทรัพย์สินทั้งของส่วนตนและส่วนรวม และหมายรวมถึง ความมีเสถียรภาพในด้านต่าง ๆ ในภาพรวม อันเป็นเป้าหมายส าคัญของแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ประเด็นความมั่นคง งานวิจัยเชิงคุณภาพฉบับนี้ จึงจัดท าขึ้นเพ่ือศึกษาแนวทางในการพัฒนาระบบการ บริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือสนับสนุนการท างานของกองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร ให้สอดรับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี บทบาทภารกิจ และนโยบายของรัฐบาล เพ่ือไปสู่ เป้าหมาย “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข” ผลการวิจัยจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์เชิ งลึก จากผู้ทรงคุณวุฒิจากองค์กรกลางด้านการบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัย ส่วนราชการรูปแบบเฉพาะ และผู้บริหาร กอ.รมน. พบว่า กอ.รมน. ควรได้พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามข้อเสนอ เชิงนโยบาย ดังนี้ ๑. รัฐบาลควรก าหนดบทบาทหลักที่ชัดเจนของ กอ.รมน. เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหา การท างานที่ซ้ าซ้อนกับหน่วยงานอ่ืน โดยอาจใช้แนวทางการบูรณาการการท างานเชิงพ้ืนที่เป็นหลัก และควรไดร้ับการจัดสรรงบประมาณอย่างเหมาะสมให้สามารถตอบสนองภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ๒. ฝ่ายบริหาร ควรมีนโยบายในการบริหารทรัพยากรบุคคล ของ กอ.รมน. ดังนี้ ๒.๑ ก าหนดสัดส่วนของข้าราชการประจ า และข้าราชการช่วยราชการ ให้ชัดเจน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เ พ่ือให้สามารถวางแผนการบริหารจัดการทั้งแผนงาน และ การแผนพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลได้อย่างชัดเจน และมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ การเพ่ิมบทบาทของ ข้าราชการพลเรือนอัตราประจ าใน กอ.รมน. จะเป็นส่วนส าคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง และ การด ารงอยู่ให้กับองค์กรได้อย่างมีนัยส าคัญ ที่แสดงให้เห็นถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เปิด กว้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของข้าราชการพลเรือนในทุกระดับ เพ่ือสร้างบรรยากาศการท างาน ที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการท างานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ๒.๒ ก าหนดนโยบายในการน าระบบอัตราแทน มาปฏิบัติราชการในส่วนงาน ที่ต้องการความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทดแทนอัตราก าลังช่วยราชการ และก าหนดมาตรการ แนวทาง ที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานและเส้นทางความก้าวหน้าในการรับราชการ ข ๒.๓ พิจารณาปรับปรุงการบริหารจัดการภายใน กอ.รมน.เพ่ือลดความซับซ้อน ของโครงสร้างการบริหาร ปรับปรุงค าสั่งในการอ านาจ มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ ให้ผู้บังคับบัญชาระดับ รองเลขาธิการ กอ.รมน. ผู้ช่วยเลขาธิการ กอ.รมน. และผู้อ านวยการส านัก ให้มากขึ้นตามความเหมาะสม ลดความซ้ าซ้อน รวมถึงขั้นตอนที่ไม่จ าเป็น และให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพ่ือให้เกิดความรวดเร็วและความ คล่องตัวในการบริหารงานในปัจจุบันที่ต้องการความรวดเร็วและทันการณ์ และลดภาระงานของ รวมทั้งน า หลักระบบคุณธรรมในการบริหารงานมาเป็นหลัก มากกว่าการยึดหลักระบบอุปถัมภ์ ๒.๔ เร่งรัดปรับปรุงระบบบริหารงานบุคคล ตามแนวทางการพัฒนาระบบบริหารงาน บุคคลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย (๑) กลไกการบริหารงานบุคคล โดยองค์กรกลางการบริหารงานบุคคลส าหรับ พลเรือน (ก.พ.กอ.รมน.) ควรได้เสนอคณะรัฐมนตรี เพ่ือปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการให้มี ความสอดคล้องกับโครงสร้างใหม่ ให้ข้าราชการพลเรือนประจ า กอ.รมน. เข้าไปมีส่วนร่วมในการ ก าหนดทิศทางการบริหารงานบุคคล การก าหนดคุณสมบัติและหลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ชัดเจนและเหมาะสมกับอ านาจหน้าที่ และการปรับปรุงอ านาจหน้าที่ของ ก.พ. กอ.รมน. เ พ่ือแก้ไขความซ้ าซ้อน ระหว่างอ านาจหน้าที่ตาม มติ ครม. และตามที่ก าหนด ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน หรือตามกฎหมายอื่นท่ี กอ.รมน. น ามาใช้โดยอนุโลม (๒) จัดท าแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๗ - ๒๕๗๑ โดยมีการจัดล าดับความส าคัญเร่งด่วนของการพัฒนาในด้านต่าง ๆ น ามาก าหนดเป็นแผนปฏิบัติการ ในแต่ละปี รวมทั้งก าหนดตัวชี้วัดให้ชัดเจน ที่ตอบสนองต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์ ชาติ เพ่ือเสนอ ผอ.รมน. พิจารณาอนุมัติต่อไป (๓) การพัฒนากฎหมายการบริหารงานบุคคลส าหรับข้าราชการพลเรือน ประจ า กอ.รมน. เป็นการเฉพาะเพ่ือให้สอดคล้องกับบริบทของ กอ.รมน. โดยการน าเสนอ คณะรัฐมนตรีเพ่ือให้ความเห็นชอบ โดยเทียบเคียงจากการบริหารงานบุคคลของส่วนราชการรูปแบบ เฉพาะ (๔) กระบวนการบริหารงานบุคคล ควรพัฒนาระบบบริหารจัดการ และ กระบวนการต่าง ๆ ในการบริหารงานบุคคล ให้มีประสิทธิภาพ และทันสมัย น าระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเข้ามาใช้การปฏิบัติงาน สร้างความมั่นคงในการปฏิบัติหน้าที่ และสร้างเส้นทาง ความก้าวหน้าส าหรับข้าราชการ โดยยึดหลักระบบคุณธรรม และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ก าหนดแผนอัตราก าลัง ก าหนดตัวชี้วัดเพ่ือการประเมินผลงานที่ชัดเจน พัฒนาระบบการด าเนินการ ทางวินัย และการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (๕) การสร้างภาพลักษณ์และความเข้าใจของประชาชนต่อบทบาทหน้าที่ของ กอ.รมน. เพ่ือสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม สนับสนุน การท างานในภาคประชาชน รวมทั้งการพัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์หน่วยงานในรูปแบบ ที่หลากหลายเพื่อการเข้าถึงประชาชน ๒.๕ การพัฒนาองค์กรและการบริหารงานของ กอ.รมน. ในช่วงเวลา ๑๐ ปีข้างหน้า ควรให้ความส าคัญในเรื่องความยืดหยุ่นและการปรับตัวตามสถานการณ์ในการบริหารงานและพัฒนา องค์กร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการเป็นศูนย์บูรณาการข้อมูลเ พ่ือความมั่นคง ค ของ กอ.รมน. ในการวางแผนการปฏิบัติงานเพ่ือตอบสนองภัยคุกคาม การวางแผนยุทธศาสตร์ระยะ ยาวที่ครอบคลุมทุกด้านของการบริหารงานและการพัฒนาองค์กรที่พร้อมรับมือต่อสถานการณ์ ในอนาคต การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ที่เน้นการมีส่วนร่วม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ การท างานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ และที่ส าคัญควรเสริมการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน ๆ ให้เข้มแข็ง เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการด าเนินงานและการประสานงานในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ เป็นไปอย่างมีเอกภาพ

abstract:

ง Abstract Title Development of HRM System for Driving ISOC Organizational Success Field Politics Name Sriwanlapa Anantawan Course NDC Class 66 Security within the Kingdom is important and necessary for every country. It is a basic need of citizens who want to feel safe in their lives. Be protected from various dangers to life and property, both personal and public. and includes overall stability in various areas, which is an important goal of the 20-year national strategic plan. Security issues This qualitative research Therefore, it was created to study guidelines for developing a human resource management system to support the work of the Internal Security Operations Command. To be consistent with the 20-year national strategy, roles, missions, and government policies. to reach the goal “The Country is stable. People are happy.” Research results from document research and in-depth interviews. From experts from OCSC. , OPDC. , Universities, Special government agencies, and ISOC executives, it was found that ISOC should develop a human resource management system. According to the policy proposal as follows: 1. The government should clearly define the main roles of ISOC in order to avoid the problem of duplicating work with other agencies. It may use the approach of integrating spatial work as the main focus. and should be appropriately allocated a budget to be able to respond to assigned missions 2. The management department should have a policy for managing human resources of ISOC as follows: 2.1 Determine the proportion of permanent civil servants. and civil servants to help the government clearly, both in the short term and in the long term To be able to plan the management of the entire project and a clear human resource management system development plan and efficient in this regard, increasing the role of civil servants Regular civilians in ISOC will be an important part in strengthening it. and survival for the organization significantly that demonstrates the strengthening of an organizational culture that is open and supports the participation of civil servants at all levels To create a working atmosphere that promotes the exchange of ideas and creative collaboration. จ 2.2 Set a policy for implementing the replacement rate system. To perform government work in areas that require specific expertise Substitute for government assistance personnel and determine appropriate measures and guidelines for work performance and advancement paths in government service. 2.3 Consider improving internal management. ISOC to simplify the administrative structure Improve command in power Assigned to perform duties Provide more commanders at the level of Deputy Secretary General of ISOC, Assistant Secretary General of ISOC, and Bureau Directors as appropriate Reduce duplication Including unnecessary steps and to comply with the law To achieve speed and flexibility in today's management that requires speed and timeliness. and reduce the workload of Including adopting the principles of the moral system in administration as the main principle. rather than adhering to the principles of the patronage system 2.4 Accelerate the improvement of the personnel management system. According to the guidelines for developing a human resource management system obtained from this research, it consists of (1) Personnel management mechanism by the central organization for personnel administration for civilians (ISOC) should propose to the Cabinet. To improve the composition of the committee to be consistent with the new structure. Allow civil servants assigned to ISOC to participate in determining the direction of personnel management. Setting clear qualifications and criteria for selecting qualified directors that are appropriate to their authority and duties. and improving the authority and duties of the ISOC Civil Service Commission to resolve duplication. Between the powers and duties according to Cabinet resolutions and as specified in the Civil Service Act or according to other laws that ISOC applies mutatis mutandis. (2) Prepare a strategic plan for human resource management for 2024 - 2028, with urgent priorities for development in various areas to be formulated as an action plan each year. including clearly defining indicators that responds to the achievement of objectives according to the national strategic plan to present to the Director of the Internal Security Operations Command for further consideration and approval. (3) Developing a specific personnel management law for ISOC civil servants to be consistent with the ISOC context by presenting it to the Cabinet for approval. By comparing with the personnel management of specific government agencies. (4) Personnel management process A management system should be developed. and various processes in personnel management To be efficient and ฉ modern, bring information technology systems into use in operations. Create stability in performing duties and create a path for advancement for civil servants. By adhering to the principles of the moral system and good governance in management Set a workforce plan Set clear indicators for evaluating performance. Develop a disciplinary action system and protection of the moral system (5) Creating the public's image and understanding of ISOC's role and duties in order to create correct understanding. and provide opportunities for the public to participate Support work in the public sector Including the development of public relations channels for agencies in a variety of formats to reach the public. 2.5 Organizational and administrative development of ISOC over the next 10 years should emphasize flexibility and adaptability to the situation in organizational management and development. use of information technology Including being an information integration center for security of ISOC. in planning operations to respond to threats Long-term strategic planning that covers all aspects of management and organizational development that is ready to cope with future situations. Strengthening corporate culture that emphasizes participation exchange of ideas and working together creatively and most importantly, cooperation with other agencies should be strengthened in order to increase efficiency in operations and coordination in various situations to be unified.