เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายสู่ความยั่งยืนตามโมเดลเศรษฐกิจใหม่ (BCG Model),(วปอ.10235)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิฤทธิ์ วิเศษสินธุ์,(วปอ. 10235)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทรายสู่ความยั่งยืน
ตามโมเดลเศรษฐกิจใหม่ (BCG Model) ภายใต้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ
อุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทราย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายวิฤทธิ์ วิเศษสินธุ์ หลักสูตร วปอ. รุน่ที่ 66
งานวิจัยฉบับนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทราย
ของประเทศไทย ศึกษา วิเคราะห์ รูปแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่อุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทราย
ตามแนวทาง BCG Model ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการผลักดันต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
และน้าเสนอแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่อุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทราย ตามแนวทาง
BCG Model ภายใต้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการอุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทราย ซึ่งจะด้าเนินการ
ตามแนวทางการขับเคล่ือน 3 ด้าน ได้แก่ 1) การขับเคล่ือน Bio Economy ระบบเศรษฐกิจชีวภาพ
โดยวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพจากอ้อยและน ้าตาลทราย เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายผลไปสู่
ผู้ประกอบการเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศ 2) การขับเคล่ือน Circular Economy
เศรษฐกิจหมุนเวียน โดยการผลักดันการน้าเศษวัดสุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าและน้าไปใช้
ประโยชน์ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าและอื่น ๆ และ 3) การขับเคล่ือน Green Economy ระบบ
เศรษฐกิจสีเขียว โดยผลักดันมาตรการคาร์บอนเครดิต และการซื อขายคาร์บอนในกระบวนการผลิตอ้อย
และน ้าตาลทราย ตั งแต่ระดับต้นน ้า (เกษตรกรชาวไร่อ้อย) กลางน ้า (โรงงานน ้าตาล) และปลายน ้า
(ผู้ประกอบการท่ีใช้น ้าตาลเป็นวัตถุดิบและผู้บริโภค) ซึ่งรายงานฉบับนี จะเป็นประโยชน์ส้าหรับภาครัฐ
ในการน้าแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่อุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทรายตามแนวทาง BCG
Model เป็นทิศทางท่ีชัดเจนส้าหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อย น ้าตาลทราย อุตสาหกรรมชีวภาพ
ของไทย ซึ่งจะเป็นส่วนส้าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระยะต่อไป
ผู้วิ จัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี จะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน เกษตรกรชาวไร่อ้อยและประชาชนชนท่ัวไปใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรม
อ้อยและน ้าตาลทรายสู่ความยั่งยืนตามโมเดลเศรษฐกิจใหม่ (BCG Model) ภายใต้ยุทธศาสตร์
การบริหารจัดการอุตสาหกรรมอ้อยและน ้าตาลทรายต่อไป
abstract:
ข
Abstract
Title Sustainable Management Strategies for the Cane and Sugar
Industry According to the New Economic Model (BCG Model)
Under the Strategic Management Framework for the Cane and
Sugar Industry
Field Economics
Name Mr. Virit Viseshsindh Course NDC Class 66
This research aims to study the situation and context of Thailand’s
sugarcane and sugar industry. It explores and proposes methods to enhance added
value in the sugarcane and sugar sector using the BCG Model (Bio-Circular-Green
Model), and identifies the challenges and obstacles associated with promoting this
sector's contribution to the country’s economic development.
The research proposes strategies for adding value to the sugarcane and
sugar industry through the application of BCG concepts. These strategies focus on
three main areas: 1) Bio Economy: Driving the bioeconomy forward by researching and
developing bioproducts derived from sugarcane and sugar. This initiative aims to
create added value, extend benefits to entrepreneurs, and enhance the economic
value of the country. 2) Circular Economy: Advancing the circular economy by
encouraging the use of agricultural waste to create added value, generate electricity,
and support other applications. 3) Green Economy: Promoting the green economy by
implementing carbon credit measures and carbon trading throughout the sugarcane
and sugar production processes. This includes all stages and all stakeholders, from
upstream (sugarcane farmers) to midstream (sugar mills), and downstream (sugar users
and consumers).
This report will serve as a valuable resource for the government in guiding
the creation of added value in the sugarcane and sugar industry in alignment with the
BCG Model. It outlines a robust approach for the development of Thailand's
sugarcane and sugar industry, significantly contributing to the country's future
economic growth.
The researcher sincerely hopes that this study will benefit government
agencies, the private sector, sugarcane farmers, and the general public. It is intended
to serve as a guideline for organizing the sugarcane and sugar industry sustainably, in
alignment with Thailand’s new economic model (BCG Model) and the management
strategy for the industry.