เรื่อง: การขับเคลื่อนการส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย Soft Power,(วปอ.10234)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว วิมล ชอบสุข,(วปอ. 10234)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การขับเคล่ือนการส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย Soft Power
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางสาววิมล ชอบสุข หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 66
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์และนโยบายการขับเคลื่อนการส่งเสริม
การท่องเที่ยวไทยด้วย Soft Power ในปัจจุบัน 2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อนการส่งเสริม
การท่องเที่ยวไทยด้วย Soft Power 3) กำหนดแนวทางการขับเคลื่อนการส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย
ด้วย Soft power ที่เหมาะสมกับประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยได้ทำการศึกษาและ
รวบรวมจากข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน 5 คนในระดับ
ผู้กำหนดนโยบายและผู้ปฏิบัติ ด้วยคำถามก่ึงโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า รัฐบาลปัจจุบันภายใต้การนำของนายเศรษฐา ทวีสิน มีนโยบายส่งเสริม
การท่องเที่ยวเพื่อเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยใช้ต้นทุนที่ประเทศไทย
มีอัตลักษณ์และความโดดเด่น โดยนายกรัฐมนตรีได้ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวดังจะเห็นได้
จากการแถลงนโยบายของรัฐมนตรีต่อรัฐสภา และการประกาศวิสัยทัศน์ Ignite Thailand’s Tourism
ขณะเดียวกันรัฐบาลได้มุ่งขับเคลื่อน Soft Power ซึ่งเป็นต้นทุนทางการท่องเที่ยวผ่านกลไกคณะกรรมการ
ยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์และคณะอนุกรรมการสนับสนุนอุตสาหกรรมเป้าหมาย Soft Power สาขาท่องเที่ยว
ซ่ึงได้มีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว แต่ไม่มีกลไกรับผิดชอบนำนโยบาย
ไปสู่การปฏิบัติผ่านหน่วยงานที่เกี ่ยวข้องอย่างชัดเจน ถือเป็นปัญหาและอุปสรรคสำคัญในการขับเคลื่อน
การส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย Soft Power ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริม
การท่องเที่ยวไทยด้วย Soft Power ทั้งนี้ แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวควรมีการวิเคราะห์กระบวนการทางอำนาจ
ฝั่งผู้ใช้อำนาจตามผังมโนทัศน์ 4A 2R โดยเฉพาะมิติด้านวาระ (Agenda) ที่ยังคงถกเถียงในประเด็นคำจำกัด
ความ Soft Power ส่งผลให้ผู้ที่นำนโยบายไปดำเนินการ (Actor) ไม่ได้กำหนดแผนการขับเคลื่อนอย่างชัดเจน
ไม่มีการจัดทำคำของบประมาณเพื ่อเป็นทุนสนับสนุนการดำเนินการ (Asset) และไม่มีการดำเนินงาน
(Action) หรือขาดการบูรณาการทั ้งระบบ ดังนั ้นควรสร้างความเข้าใจที ่ตรงกันในสังคมต่อประเด็น
Soft Power และมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนในประเด็นดังกล่าว ซึ่งจะเป็นทิศทางใน
การดำเนินการให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่กำหนด
ข
Abstract
Title Enhancing Thai Tourism through Soft Power: A Policy Analysis
Field Economic
Name Miss Wimon Chobsuk Course NDC Class 66
In this research, current situation, government policy, challenges and
obstacles are analyzed in promoting Thai tourism using Soft Power. Data for
qualitative research were gathered from both primary and secondary sources.
Primary data was collected through in-depth interviews with five keys informants,
including policymakers and practitioners. A semi-structured interview guide was
used to collect data.
The study finds that Thai government has recognized the importance of
Soft Power in promoting tourism and has implemented a number of policies to
support its use such as policy statement and Ignite Thailand’s Tourism policy
through the mechanism of the Soft Power Strategy Committee and the subcommittee.
However, there are a number of challenges to using Soft Power effectively, including
a lack of understanding of Soft Power among the Thai public, a lack of coordination
between different government agencies, and a lack of resources to implement
Soft Power initiatives. Therefore, it is necessary to develop a strategic promotion
plan toward Thai tourism with Soft Power. This strategic plan will be analyzed on
the power user according to the 4A 2R concept especially the agenda dimension,
which is still debated on the issue of the definition of Soft Power, resulting in those
who implement the policy (actor) do not clearly define the driving plan and no
budget (asset), and there is no action or lack of integration throughout the system.
The recommendations are Thai government should develop a more coordinated
approach to using Soft Power to promote tourism, raise awareness of Soft Power
among the Thai public, and provide more resources to implement Soft Power
initiatives.
abstract:
ข
Abstract
Title Enhancing Thai Tourism through Soft Power: A Policy Analysis
Field Economic
Name Miss Wimon Chobsuk Course NDC Class 66
In this research, current situation, government policy, challenges and
obstacles are analyzed in promoting Thai tourism using Soft Power. Data for
qualitative research were gathered from both primary and secondary sources.
Primary data was collected through in-depth interviews with five keys informants,
including policymakers and practitioners. A semi-structured interview guide was
used to collect data.
The study finds that Thai government has recognized the importance of
Soft Power in promoting tourism and has implemented a number of policies to
support its use such as policy statement and Ignite Thailand’s Tourism policy
through the mechanism of the Soft Power Strategy Committee and the subcommittee.
However, there are a number of challenges to using Soft Power effectively, including
a lack of understanding of Soft Power among the Thai public, a lack of coordination
between different government agencies, and a lack of resources to implement
Soft Power initiatives. Therefore, it is necessary to develop a strategic promotion
plan toward Thai tourism with Soft Power. This strategic plan will be analyzed on
the power user according to the 4A 2R concept especially the agenda dimension,
which is still debated on the issue of the definition of Soft Power, resulting in those
who implement the policy (actor) do not clearly define the driving plan and no
budget (asset), and there is no action or lack of integration throughout the system.
The recommendations are Thai government should develop a more coordinated
approach to using Soft Power to promote tourism, raise awareness of Soft Power
among the Thai public, and provide more resources to implement Soft Power
initiatives.