Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความไม่เท่าเทียมในการเรียกค่าทดแทนในกรณีเป็นชู้ ตาม ป.พ.พ. ม.1523 วรรคสอง,(วปอ.10229)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิชัย ลีลาสวัสดิ์,(วปอ. 10229)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศ ศึกษากรณีเงื่อนไขการเรียกค่าทดแทน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๒๓ วรรคสอง ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นายวิชัย ลีลาสวัสด์ิ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖ การศึกษาวิจัยเรื่อง “ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศ ศึกษากรณีเงื่อนไขการเรียก ค่าทดแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๒๓ วรรคสอง” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และวิวัฒนาการในประเด็นภาระการพิสูจน์ในการเรียกค่าทดแทนจาก ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศในกรณีฟ้องชู้ ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างในการเรียกค่าทดแทน ในกรณีฟ้องหย่าและไม่มีการฟ้องหย่า ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๒๓ วรรคหนึ่งและวรรคสอง ศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศในกรณีเรียก ค่าทดแทนจากชู้ เพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไขกฎหมายให้เกิดความเท่าเทียมทางเพศ การวิจัยนี้ เป็นการศึกษาโดยค้นคว้าและวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary research) โดยศึกษา ค้นคว้า และ รวบรวมข้อมูลจากหนังสือ บทความทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เอกสาร ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ และข้อมูลทางสถิติ ความคิดเห็นทางวิชาการของนักนิติศาสตร์ทั้งของประเทศไทย และต่างประเทศ รวมถึงกฎหมายเกี่ยวกับภาระพิสูจน์ในการเรียกค่าทดแทนจากการฟ้องชู้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1523 วรรคสอง, พระราชบัญญัติความเท่าเทียม ระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗ บทบัญญัติ กฎหมายทั่วไปแห่งมลรัฐนอร์ทแคโรไลนา บรรพที่ 52 อ านาจ และความรับผิดของคู่สมรส มาตรา 52-13 กระบวนการเกี่ยวกับมูลฟ้องคดีกรณีการท าให้ครอบครัวแตกแยกและการเป็นชู้ และ อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลอืกปฏิบัติต่อสตรใีนทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discriminationagainst Women : CEDAW) ตลอดจนวิเคราะห์แนวค าพิพากษา ของศาลต่างประเทศเพื่อน ามาวิเคราะห์หาแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับความ เท่าเทียมทางเพศ ผลการวิจัยพบว่า เงื่อนไขการเรียกค่าทดแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๒๓ วรรคสอง แสดงให้เห็นความไมเท่าเทียมระหว่างเพศชายและหญิงในสิทธิของการ เรียกค่าทดแทนตามกฎหมายครอบครัว เนื่องจากสามีสามารถเรียกค่าทดแทนจากผู้ล่วงเกินภริยา ซึ่งจะเป็นเพศใดก็ได และเป็นเพียงการล่วงเกินภริยาไปในท านองชูสาวก็เขาเงื่อนไขแลว ไมตองค านึง ว่าภริยาจะสมัครใจหรือไม อาจเป็นกรณีที่ภริยาถูกบุคคลอื่นกระท าอนาจารโดยไมสมัครใจ ก็เขาเงื่อนไขที่สามีจะเรียกค่าทดแทนจากผู้กระท าอนาจารตามบทบัญญัติดังกล่าวแลว นอกจากนี้ การกระท าดังกล่าวไม่จ าเป็นต้องเปน็การกระท าโดยเปดิเผยด้วย หากเป็นการลักลอบเป็นชู สามีเพียง พิสูจนไ์ดวาบุคคลที่ถูกเรียกค่าทดแทนเป็นชูกับภริยาจริง ลวงเกินภริยาในท านองชูสาวจริงแม้เป็น การกระท าโดยปกปิด กระท าในที่ลับโดยบุคคลทั่วไปไมรู้เห็นข้อเท็จจริงดังกล่าว ก็เป็นการกระท า ที่เขาเงื่อนไขที่สามีจะเรียกค่าทดแทนไดแลว ในขณะเดียวกันกรณีภริยาจะเรียกค่าทดแทนได ข จากหญิงเท่านั้น ไมสามารถเรียกค่าทดแทนจากชายอื่นตามบทบัญญัติดังกล่าวได และการกระท า ที่ภริยาจะเรียกค่าทดแทนได ต้องเป็นการมีความสัมพันธ์ในท านองชูสาวโดยเปิดเผยด้วย ซึ่งภริยา ต้องพิสูจน์ถึงการเป็นชูกันและต้องเป็นการกระท าโดยเปิดเผยที่ผู้อื่นสามารถพบเห็นสามารถเข้าใจ ไดว่าหญิงผู้ถูกเรียกค่าทดแทนเป็นชูกับสามีของตน ซึ่งเป็นเรื่องที่พิสูจน์ไดยาก เพราะโดยสภาพแล้ว การมีความสัมพันธ์ฉันชูสาวของผู้ที่มีสามีภริยาชอบด้วยกฎหมายอยูแล้วกับชูนั้น มักเป็นเรื่อง ที่ลักลอบกระท ากันโดยปกปิด บุคคลทั่วไปไมทราบและรูเห็น จะเห็นไดจากแนวค าพิพากษาศาลฎีกา ที่ภริยาแพคดีการฟ้องเรียกค่าทดแทนเพราะไมสามารถพิสูจน์องค์ประกอบที่เป็นการกระท า โดยเปิดเผยได ในขณะที่สามีไมตองพิสูจน์องค์ประกอบดังกล่าว บทบัญญัติตามกฎหมายดังกล่าว ควรแก้ไขให้เกิดความเท่าเทียมกันทางเพศอันเป็นการด าเนินการให้สอดคลองกับหลักความเสมอภาค และการไมเลือกปฏิบัติโดยไมเป็นธรรมเพราะความแตกต่างทางเพศของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบันคือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ และตามพระราชบัญญัติความ เท่าเทียมทางเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยแก ไขบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๓๒ วรรคสอง ให้สิทธิเรียกค่าทดแทนของชายและหญิงตามกฎหมายครอบครัวเป็นไป โดยเท่าเทียมและภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน เพื่อมิให้เป็นการเลือกปฏิบัติเพราะความแตกต่างทางเพศ

abstract:

ค Abstract Title Gender inequality issues : A caes Study the case of conditions for claiming compensation under the Civil and Commercial Code, Section 1523, paragraph two Field Politics Name Mr. Wichai leelasawad Course NDC Class 66 Research study on Gender inequality issues : A caes Study the case of conditions for claiming compensation under the Civil and Commercial Code, Section 1523, paragraph two. The objectives are to 1. study the concept, theory, and evolution in the issue of burden of proof in claiming compensation for gender inequality in adultery cases; 2. study and compare the differences in claiming compensation in divorce cases with and without cases. Filing for divorce according to the Civil and Commercial Code, Section 1523, paragraphs one and two. 3. Study approaches to resolving gender inequality problems in cases of claiming compensation from adultery. To suggest ways to amend the law to achieve gender equality. This research is a study by researching and documenting research (Documentary research) by studying, researching and collecting information from books. Academic articles, theses, electronic documents Other related documents and statistical information Academic opinions of legal experts from both Thailand and abroad. Including the law regarding the burden of proof in claiming compensation from adultery suits according to the Civil and Commercial Code, Section 1523, paragraph two, the Gender Equality Act 2015, the Constitution of the Kingdom of Thailand 2017, Section 27 provisions. General Laws of the State of North Carolina, Book 52, Powers and Liabilities of Spouses, Sections 52- 13, Procedure regarding grounds of action in cases of family breakup and adultery. and the Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women [CEDAW] as well as analyzing the judgments of foreign courts in order to analyze and find appropriate ways to resolve them. Laws regarding gender equality. The results of the research found that the conditions for claiming compensation according to the Civil and Commercial Code, Section 1523, paragraph two, show the inequality between men and women in the rights to claim compensation according to family law This is because the husband can demand compensation from the person who offends his wife. which can be of any gender and it is only the act of harassing the wife in an adulterous manner that meets the criteria. No need to consider whether the wife will volunteer or not It may be the ง case that the wife is subjected to an indecent act by another person against her will. This cause meets the conditions for the husband to demand compensation from the offender according to the aforementioned provisions. In addition, such action does not have to be disclosed. If it is an act of adultery the husband can only prove that the person being compensated is actually having an affair with his wife. The act of harassing one's wife in an adulterous manner , even if it is done in a concealed manner and secret without the general public being aware of such facts. It is an action that meets the conditions for the husband to claim compensation. Meanwhile In the case of the wife claiming compensation can only be obtained from women. It is not possible to demand compensation from another man according to the said provisions and the actions for which the wife can demand compensation. It must be an open adulterous relationship. The wife must prove that it is adultery and must be acting in an open manner that others can see and understand. It was said that the woman who was being compensated was having an affair with her husband. This is a matter that is difficult to prove. Because according to the condition Having a romantic relationship between a person who already has a legal husband and wife with that adulterer It is often a matter that is secretly done. The general public does not know or see. This can be seen from the Supreme Court's judgment that the wife lost a lawsuit seeking compensation because she could not prove the elements of the act because it is disclosed While the husband does not have to prove such elements. Such legal provisions should be amended to achieve gender equality in accordance with the principles of equality and not being discriminated against unfairly because of a person's gender difference according to the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2017, and according to the Equality Act. 2015 by amending the provisions of the Civil and Commercial Code, Section 1532, paragraph two, giving the right to demand compensation. The rights of men and women under family law should be equal and under the same conditions in order to avoid discrimination because of gender differences.