เรื่อง: แรงจูงใจในการสมัครเข้าเป็นทหาร เพื่อนำไปสู่การยกเลิกการเกณฑ์ทหาร,(วปอ.10208)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี วชรนันท์ กองศรี,(วปอ. 10208)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แรงจูงใจในการสมัครใจเข้าเป็นทหารกองประจ าการ เพื่อน าไปสู่การลด
จ านวนการเกณฑ์ทหาร และได้ก าลังพลที่มีประสิทธิภาพต่อกองทัพ
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรี วชรนันท์ กองศรี หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการสมัครใจเข้า
เป็นทหารกองประจ าการ 2. เพื่อศึกษาถึงปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อแรงจูงใจในการสมัครใจเข้าเป็น
ทหารกองประจ าการ และ 3. เพื่อพัฒนาและก าหนดแนวทางการจูงใจให้เกิดการสมัครใจเข้า
เป็นทหารกองประจ าการเพิ่มมากขึ้น จนน าไปสู่การลดจ านวนการเกณฑ์ทหารและได้ก าลังพล
ท่ีมีประสิทธิภาพภายใต้กรอบกฎหมายและนโยบายของกองทัพในปัจจุบัน
ผลการศึกษาพบว่า 1. ระดับแรงจูงใจในการสมัครใจเข้าเป็นทหารกองประจ าการ
จากมากไปน้อย มี ดังนี้ 1.1 ความก้าวหน้าและความมั่นคง 1.2 ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ
1.3 ด้านเกียรติยศและช่ือเสียง 1.4 ด้านบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง 1.5 ด้านความความหวังของผู้ปกครอง 1.6
ด้านความสนใจและเหตุผลส่วนตัว และ 1.7 การประชาสัมพันธ์และการเข้าถึงข้อมูลของประชาชน
2. ปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อแรงจูงใจในการสมัครใจเข้าเป็นทหารกองประจ าการ มีดังนี้ 2.1 คุณสมบัติ
ของผู้ท่ีมีสิทธิ์เข้าตรวจเลือกเป็นทหารกองประจ าการ 2.2 ระยะเวลาในการเข้ารับราชการของทหาร
กองประจ าการ 2.3 ปัญหาเกี่ยวกับการยกเว้นบุคคลบางจ าพวกตามกฎหมาย 2.4 พระราชบัญญัติ
การเกณฑ์ทหารบางประการยังไม่ได้รับการปรับปรุงให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับปัจจุบัน และ
2.5 ภาพลักษณ์ของกองทัพในเรื่องการใช้ความรุนแรงกับทหารกองประจ าการ และ 3. การพัฒนา
และก าหนดแนวทางการจูงใจให้เกิดการสมัครใจเข้าเป็นทหารกองประจ าการเพิ่มมากขึ้น จนน าไปสู่
การลดจ านวนการเกณฑ์ทหารและได้ก าลังพลท่ีมีประสิทธิภาพภายใต้กรอบกฎหมายและนโยบาย
ของกองทัพในปัจจุบัน แบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ 3.1 ระยะส้ัน ประกอบด้วย การเพิ่มแรงจูงใจในการรับ
ราชการต่อ การน าเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในกระบวนการสรรหาและคัดเลือก และการสร้างความเข้าใจ
เกี่ยวกับภารกิจหน้าท่ีและความจ าเป็นของกองทัพต่อประชาชน 3.2 ระยะกลาง ประกอยด้วย
การน าแนวทางของเอกชนในเรื่องการดึงดูดคนเก่ง คนดี คนมีความสามารถมาใช้ และการขยาย
โอกาสทางการศึกษาด้านการทหารเพื่อสร้างแรงจูงใจ และ 3.3 ระยะยาว ประกอบด้วย ควรเพิ่ม
ความเช่ือมั่นและความศรัทธาต่อกองทัพจากกลุ่มคนรุ่นใหม่ การปรับภาพลักษณ์ของกองทัพ และ
การพิจารณาปรับปรุงคุณสมบัติของผู้ถูกเกณฑ์ทหาร
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มีดังนี้ 1. ด้านกฎหมาย ควรมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
และกฎระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับการเกณฑ์ทหารในประเด็นต่าง ๆ ให้ทันสมัย 2. ด้านงบประมาณ
ควรมีการจัดงบประมาณให้เพียงพอกับความต้องการของทหารกองประจ าการท่ีได้ผ่านคัดเลือก
เข้ามารับใช้ชาติ 3. ด้านการบริหารจัดการ กองทัพต้องพัฒนาระบบการเกณฑ์ทหารให้ได้ทหาร
กองประจ าการท่ีมีคุณภาพ รวมท้ังพัฒนาระบบการฝึกทหารท่ีค านึงถึงสิทธิมนุษยชน 4. ด้าน
เทคโนโลยี โดยควรน าเทคโนโลยีสมัยใหม่ หรือระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการลดขั้นตอนการเกณฑ์
ข
ทหาร และ 5. ด้านนโยบาย ด ารงความต่อเนื่องในการสานต่อนโยบายค้นหาคนท่ีต้องการเป็นทหาร
กองประจ าการ แล้วสมัครเข้าผ่านช่องทางออนไลน์ หรือ “พลทหารออนไลน์” ซึ่งถือเป็นช่องทาง
การประชาสัมพันธ์และเป็นแรงจูงใจในการรับสมัครคนท่ีต้องการเป็นทหารกองประจ าการ
ได้เป็นอย่างดี
abstract:
ค
Abstract
Title Motivation for volunteering to join the regular military to lead to
a reduction in the number of military conscriptions. and gain effective
personnel for the army
Field Military
Name Major General Wacharanan Kongsri Course NDC Class 66
The objectives of this study were (1) to study the level of motivation for
volunteering to join the regular army, (2) to study the factors affecting motivation for
volunteering to join the regular army, and (3) to develop and Set guidelines for
motivating more people to volunteer to join the regular military. This has led to a
reduction in the number of military drafts and the creation of more efficient
personnel under the current military legal and policy framework.
The results of the study found that 1. the motivation levels for
volunteering to join the regular army from highest to lowest are as follows : 1.1
advancement and stability 1.2 compensation and benefits 1.3 honor and reputation
1.4 Relevant people 1.5, hopes of parents, 1.6 personal interests and reasons, and
1.7 public relations and public access to information. 2. Factors that affect motivation
in volunteering. Entering the military service is as follows: 2.1 Qualifications of those
who have the right to be selected as a regular military soldier. 2.2 The period of
service of the regular military. 2.3 Problems with the exemption of certain categories
of persons according to the law. 2.4 The Conscription Act. Some aspects of the
military have not yet been modernized to be consistent with the present, and
2.5 the image of the army regarding the use of violence against regular soldiers, and
3. the development and determination of guidelines for motivating people to
volunteer to become active duty soldiers. increase more This has led to a reduction
in the number of military drafts and the creation of more efficient personnel under
the current military legal and policy framework, divided into 3 phases as follows:
3.1 The short term consists of increasing incentives to continue serving. Introducing
technology to help in the recruitment and selection process and creating an
understanding of the missions, duties and needs of the armed forces to the people
3.2 in the medium term, including the adoption of private sector approaches in
attracting talented people, good people, and talented people. and expanding
opportunities for military education to create motivation and 3.3 in the long term,
consisting of increasing confidence and faith in the military from the new generation.
ง
Improving the image of the army and consideration of improving the qualifications of
those drafted into the military.
Policy recommendations are as follows: 1. Legal matters: Laws should be
amended. and regulations related to military conscription in various issues to be up-
to-date. 2. Budget. There should be a budget sufficient to meet the needs of the
regular soldiers who have been selected to serve the nation. 3. Management. The
army must develop the conscription system to produce quality regular soldiers.
including developing a military training system that takes human rights into account
4. technology It should use modern technology. or computer systems are used to
reduce the military conscription process and 5. policy side, maintain continuity in
continuing the policy of searching for people who want to be active duty soldiers.
Then apply through the online channel or "soldier online" which is considered a
channel. Public relations and motivation for recruiting people who want to be active
duty soldiers is very good.