เรื่อง: สมุททานุภาพด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับเศรษฐกิจในพื้นที่ฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย,(วปอ.10204)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว รุจิกร แสงจันทร์,(วปอ. 10204)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เร่ือง สมุททานุภาพด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับเศรษฐกิจในพื้นท่ีฝั่งทะเลอันดามัน
และอ่าวไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางสาวรุจิกร แสงจันทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 66
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1. ศึกษาสภาพแวดล้อมการแข่งขันเชิงภูมิรัฐศาสตร์
ของมหาอ านาจ และยุทธศาสตร์ของมหาอ านาจ ประเทศขนาดกลาง และประเทศเพ่ือนบ้านของไทย
ซึ่งส่งผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และการเพ่ิมขีดความสามารถทาง
การแข่งขัน อันเป็นรากฐานส าคัญส าหรับสมุททานุภาพของไทย 2. ศึกษาความสอดคล้องกันระหว่าง
ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย และแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการปฏิบัติจริงของหน่วยงานภาครัฐ
ด้านการส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย และการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในภาคใต้
ของประเทศ ซ่ึงมีความได้เปรียบด้านที่ตั้งทางภูมิรัฐศาสตร์ คืออยู่ระหว่างสองฝั่งทะเล และ 3. เสนอแนะ
แนวทางพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและสมุททานุภาพ เพ่ือยกระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของชาติ
ในพ้ืนที่ฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย โดยการศึกษาดังกล่าวใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพผ่านการรวบรวมและ
วิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ รวมถึงการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งมีการทบทวน
วรรณกรรมทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย แผนแม่บท กรอบ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายหลักอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเด็นของการพัฒนา
เศรษฐกิจ และการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของชาติ ในเวลาเดียวกัน ก็มีการทบทวน
วรรณกรรมทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้าน 1. ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ
ยุทธศาสตร์ความมั่นคงระหว่างประเทศ 2. ทฤษฎีความร่วมมือและการแข่งขันระหว่างประเทศในด้าน
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งในกรอบทวิภาคีและพหุภาคี 3. แนวคิดและบทวิเคราะห์เกี่ยวกับ
การแข่งขันทางยุทธศาสตร์ความม่ันคง การทหาร และเศรษฐกิจ ในมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทร
แปซิฟิก รวมทั้งทะเลจีนใต้ 4. แนวคิดและบทวิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจในภาคใต้ของไทย
และการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจของไทยในทะเลอันดามันและอ่าวไทย ผลการศึกษาพบว่า
1. การแข่งขันระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีนส่งผลกระทบในวงกว้างต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศไทย สหรัฐอเมริกาด าเนินยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกเพ่ือปกป้อง
ผลประโยชน์ของตนและพันธมิตร โดยเฉพาะในส่วนของเส้นทางเดินเรือในทะเลจีนใต้ ในขณะเดียวกัน
จีนให้ความส าคัญต่อเส้นทางออกสู่ทะเล อันมีความส าคัญยิ่งต่อยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงของจีน
ทั้งทางทหารและทางเศรษฐกิจ จีนจึงด าเนินยุทธศาสตร์สายแถบและเส้นทาง และมุ่งพัฒนาโครงสร้าง
พ้ืนฐานและเส้นทางโลจิสติกส์ในประเทศต่าง ๆ รอบประเทศไทย 2. ประเทศขนาดกลาง อาทิ
ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดียมียุทธศาสตร์ที่เน้นการปกป้องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ
ความเชื่อมโยงเส้นทางทางทะเล ซึ่งถูกมองว่ามีเป้าประสงค์เพ่ือจ ากัดการขยายอ านาจของจีน และ
เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สหรัฐอเมริกาและตนเองไปในเวลาเดียวกัน โดยเฉพาะอินเดียนั้นถือเป็น
โอกาสส าคัญในการขยายความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การค้า ตลอดจนการทหารของตนเข้าสู่ภูมิภาค
ข
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3. ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามาเลเซียมียุทธศาสตร์ที่เข้มข้นมากขึ้นในการ
เสริมสร้างความแข็งแกร่งด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและสมุททานุภาพของตน สาเหตุประการหนึ่งคือการที่
รัฐบาลมาเลเซียมีแนวนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่ชัดเจน ด้วยการมุ่งสร้างให้ตนเอง
เป็นศูนย์กลางการลงทุนและการพัฒนาทางเทคโนโลยีของภูมิภาคและของโลกในอนาคตอันใกล้
โดยเฉพาะในด้านอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ ดังนั้น มาเลเซียมองว่าการพัฒนาเศรษฐกิจในภาคใต้
ของไทยน่าจะเป็นการเสริมสร้างโอกาสให้แก่มาเลเซียในการเร่งกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและ
อุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีของตนได้เป็นอย่างดี 4. สิงคโปร์ซึ่งเศรษฐกิจส่วนใหญ่พ่ึงพาการคมนาคม
ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีนใต้ เป็นตัวแปรส าคัญต่อความพยายามของไทยในการสร้าง
เสริมสร้างสมุททานุภาพของชาติ เนื่องจากสิงคโปร์เกรงกลัวว่า ความส าเร็จของไทยจะส่งผลกระทบ
ในทางลบอย่างมีนัยส าคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ 5. การขาดโครงสร้างพ้ืนฐานในภาคใต้
ของไทยเพ่ือเชื่อมโยงการขนส่งหลายรูปแบบ (multimodal transport) ทั้งราง ถนน และท่าเรือน้ าลึก
มีอุปสรรคส าคัญคือปัญหาความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ท าให้ภาคใต้ของไทยไม่สามารถเป็น
ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ตามแผนพัฒนาภูมิภาคที่รัฐบาลในหลายยุคหลายสมัยได้จัดท าไว้ 6. ยุทธศาสตร์
นโยบาย แผน และการปฏิบัติขาดการบูรณาการระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ขาดหน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพ
รับผิดชอบความส าเร็จ ขาดแคลนแรงงานทักษะสูง รวมทั้งการมีส่วนร่วมของประชาชนในพ้ืนที่ยังมีจ ากัด
งานวิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. เชิงนโยบาย ภาครัฐต้องมีบทบาทส าคัญในการพัฒนา
โครงสร้างพ้ืนฐานขนาดใหญ่ ขยายโอกาสการพัฒนาทักษะและการจ้างงาน มีกระบวนการรับฟัง
ความเห็นและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่ และใช้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ทั้งใน
ระดับโลก ระดับภูมิภาค และอนุภูมิภาค ทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคี เป็นเครื่องมือผลักดัน
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของไทย นอกจากนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเชิญภาคเอกชนและประชาสังคม
ในพ้ืนที่ร่วมกันทบทวนและปรับปรุงเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ รวมทั้งจัดท าแผนงานที่มอบหมายบทบาท
หน้าที่และความรับผิดชอบชัดเจนให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือลดความซ้ าซ้อนที่เกิดจากการที่ต่างคน
ต่างท า และการขาดเจ้าภาพที่รับผิดชอบต่อความส าเร็จของแผนงาน 2. เชิงปฏิบัติ ควรมีการน าโมเดล
SOUTH มาปฏิบัติอย่างจริงจัง อันประกอบด้วย การประสานงานในเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic
coordination: S) การขยายโอกาสทางเศรษฐกิจด้วยโครงการอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (Opportunity
through future industries: O) การใช้ประโยชน์จากกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ (Utilize sub-
regional mechanism: U) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านเทคโนโลยี (Talent Development: T)
และความเชื่อมโยงระหว่างกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Harmonize rules and regulations: H)
abstract:
ค
Abstract
Title Sea Power of Infrastructure Development to Economic Advancement
in the Andaman Seaboard and the Gulf of Thailand
Field Economics
Name Ms. Rujikorn Saengchantr Course NDC Class 66
This research aims to examine the geopolitical competitive landscape of
major powers and the strategies employed by major powers, middle powers, and
Thailand's neighboring countries. These factors significantly impact economic growth,
infrastructure development, and competitiveness, which are fundamental to
Thailand's sea power. Furthermore, this study seeks to examine the alignment
between national strategies, policies, and economic development plans, as well as
the actual practices of government agencies in promoting Thailand's competitiveness
and economic development, with a particular focus on the southern region due to its
strategic geopolitical advantage of being situated between two seas. Finally, this
research intends to propose guidelines for infrastructure development and the
enhancement of sea power to elevate the nation's economic development in the
Andaman Sea and the Gulf of Thailand areas.
This study employs a qualitative research methodology, encompassing
the collection and analysis of both primary and secondary data, including interviews
with relevant individuals. Additionally, an extensive review of literature in both Thai
and foreign languages has been conducted, focusing on national strategies, policies,
master plans, constitutional frameworks, and other pertinent laws, particularly those
concerning economic development and the enhancement of national
competitiveness. Concurrently, a comprehensive review of both Thai and foreign
literature has been undertaken in the following areas: 1. Theories of international
relations and international security strategies; 2. Theories of international cooperation
and competition in political, economic, and social spheres, within both bilateral and
multilateral frameworks; 3. Concepts and analyses regarding strategic competition in
security, military, and economic domains in the Indian Ocean, Pacific Ocean, and
South China Sea; 4. Concepts and analyses concerning economic development in
southern Thailand, as well as the development of Thailand's economic potential in
the Andaman Sea and the Gulf of Thailand.
The study reveals that: 1. The competition between the United States
and China has far-reaching implications for the economic and security landscape of
Southeast Asia, including Thailand. The US is pursuing an Indo-Pacific strategy to
safeguard its interests and those of its allies, particularly concerning sea lanes in the
South China Sea. Meanwhile, China prioritizes access to the sea, which is vital for its
military and economic security strategies. Therefore, China is implementing the Belt
ง
and Road Initiative and focusing on developing infrastructure and logistics routes in
countries surrounding Thailand. 2. Middle powers such as Australia, Japan, South
Korea, and India have strategies that emphasize protecting economic interests and
maritime connectivity, often perceived as aiming to limit China's expansion and
simultaneously bolstering the US and themselves. India, in particular, sees significant
opportunities to expand its economic, trade and defence relations into Southeast
Asia. 3. Currently, Malaysia is demonstrating a more assertive strategy in strengthening
its infrastructure and sea power. One reason is the Malaysian government's clear
economic and industrial development policies, aiming to establish the country as a
regional and global hub for investment and technological development in the near
future, particularly in the semiconductor industry. Consequently, Malaysia views
economic development in southern Thailand as a potential catalyst for accelerating
its own economic and technological industrial development. 4. Singapore, whose
economy heavily relies on maritime transport between the Indian Ocean and the
South China Sea, is a significant factor in Thailand's efforts to strengthen its sea
power. This is due to Singapore's apprehension that Thailand's infrastructure
connectivity could possibly impact its own economic growth. 5. The lack of
infrastructure in southern Thailand to facilitate multimodal transport, including rail,
road, and deep-sea ports, coupled with security concerns in the southern border
provinces, has hindered the region's potential to become an economic hub, as
envisioned in regional development plans by successive governments. 6. There is a
lack of integration among various sectors in terms of strategies, policies, plans, and
implementation. Additionally, there is an absence of a mechanism or a competent
agency, a shortage of skilled labor, and limited public participation in the region.
This research proposes the following recommendations: 1. In terms of
policy, the government must play a crucial role in developing large-scale
infrastructure, promoting skill development and employment opportunities,
establishing robust mechanisms for public consultation and participation, and utilizing
international cooperation frameworks at global, regional, and sub-regional levels,
both bilaterally and multilaterally, as tools to advance Thailand's economic interests.
Additionally, relevant agencies should invite the private sector and civil society in the
region to collaboratively review and refine strategic goals, as well as formulate action
plans that clearly delineate roles, responsibilities, and accountability to all involved
parties, thus reducing redundancies caused by isolated efforts and the lack of
ownership for the success of the plans. 2. In terms of implementation, this research
proposes “SOUTH Model” encompassing Strategic coordination (S), Opportunities
through future industries (O), Utilize sub-regional mechanism (U), Talent development
(T), and Harmonize rules and regulations (H) as ways and means to advance the
country’s sea power on infrastructure development which would possibly help
Thailand achieve geopolitical leverage.