เรื่อง: การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมากระทำผิดซ้ำของผู้ถูกเฝ้าระวังภายหลังพ้นโทษตามพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. ๒๕๖๕,(วปอ.10195)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย มานพ ชมชื่น,(วปอ. 10195)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมากระท้าผิดซ้้าของผู้ถูกเฝ้าระวังภายหลังพ้นโทษ ตามพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้้าในความผิดเกี่ยวกับเพศ หรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ.2565
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายมานพ ชมชื่น หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 66
ปัญหาความมั่นคงทางด้านสังคมจิตวิทยาในขอบเขตของงานวิจัยชิ้นนี้ คือ ความหวาดกลัวอาชญากรรมที่ก่อเหตุสะเทือนขวัญ ความรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และปัญหาความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งสืบเนื่องมาจากกรณีอดีตผู้ต้องขังที่พ้นโทษออกไปแล้วก่อเหตุสะเทือนขวัญซ้้าอีก ท้าให้สังคมเรียกร้องให้ภาครัฐหาวิธีจัดการกับผู้กระท้าผิดกลุ่มนี้ จึงน้าไปสู่การตราพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 ขึ้น โดยปัจจุบันกรมราชทัณฑ์ได้ด้าเนินการตามกระบวนการที่กฎหมายดังกล่าวก้าหนดมาเป็นเวลากว่า 1 ปีแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม กลับพบว่ากลุ่มผู้กระท้าผิดในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรงยังกลับมากระท้าผิดซ้้า ด้วยเหตุนี้ การศึกษาวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ท้าให้ผู้กระท้าผิดกลุ่มนี้กลับมากระท้าผิดซ้้า เพื่อน้าผลการวิจัยมาพัฒนาแนวทางในการบ้าบัดฟื้นฟูแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยต่อไป
งานวิจัยนี้ได้ใช้วิธีการด้าเนินการวิจัยแบบผสม (Mixed-method Research) โดยได้ด้าเนินการ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ด้วยแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Questionnaire) กับกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ต้องขังในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรงที่กลับมากระท้าผิดซ้้า จ้านวน 64 ราย ผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จ้านวน 3 ท่าน และด้าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบการวิเคราะห์สาระส้าคัญของเนื้อหา (Thematic Analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยผลการวิจัยพบว่า กลุ่มเป้าหมายกลับมากระท้าผิดซ้้าด้วยความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดร้อยละ 68.75 และกลับมากระท้าความผิดซ้้าในคดีเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรงเพียงร้อยละ 15.63 ส้าหรับสาเหตุ/ปัจจัยของการกระท้าความผิดซ้้าพบว่า ส่วนใหญ่มาจากการติดการใช้สารเสพติด/ขาดความยับยั้งชั่งใจไม่ให้ใช้สารเสพติด/ยาเสพติดเข้าถึงได้ง่าย และการมีรายได้ที่ไม่เพียงพอต่อการด้ารงชีพ ซึ่งแตกต่างออกไปในกลุ่มผู้ที่กลับมากระท้าผิดซ้้า ในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรงที่พบว่า เกิดจากการใช้เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และบันดาลโทสะ/การทะเลาะวิวาท นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องยังได้ให้ความเห็นถึงสาเหตุ/ปัจจัยแห่งการกระท้าความผิดซ้้าว่า เกี่ยวกับการอบรมปลูกฝังของครอบครัว สภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัย การชักจูงจากคนรอบข้างเป็นหลัก รวมไปถึงอาการทางจิตและความบกพร่องที่เกิดขึ้น จากการใช้สารเสพติดอีกด้วย
ดังนั้น จากผลการวิจัยข้างต้นจึงมีข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ คือ กรมราชทัณฑ์ ควรด้าเนินการคัดกรองรายงานส้าหรับการพิจารณาเสนอมาตรการที่เข้มงวดขึ้น และจัดให้มีพื้นที่ส้าหรับควบคุมกลุ่มผู้กระท้าผิดดังกล่าวและแยกจากผู้ต้องขังอื่น รวมถึงจัดให้มีการตรวจประเมินโรคจิตเวช/โรค
ข
ความผิดปกติทางบุคลิกภาพให้แก่กลุ่มผู้กระท้าความผิดดังกล่าวทุกราย ส้าหรับข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย คือ กรมราชทัณฑ์ควรยกระดับการฝึกวิชาชีพ เพื่อให้ผู้พ้นโทษสามารถท้างานหาเลี้ยงชีพได้อย่างสุจริต และมีรายได้เพียงพอที่จะไม่กลับไปกระท้าผิดซ้้าอีก อีกทั้งเพิ่มหลักสูตรการบ้าบัดหรือการเลิกใช้สารเสพติดและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ไว้ในโปรแกรมการแก้ไขบ้าบัดฟื้นฟูตามลักษณะแห่งคดีทุกประเภท รวมถึงเพิ่มงบประมาณส้าหรับการจัดท้าโปรแกรมการบ้าบัดฟื้นฟูให้แก่ผู้กระท้าผิด อีกด้วย
abstract:
Abstract
Title A study on factors that cause re-offending in monitored post-release offenders, who are prescribed by the measures to prevent the recidivism of sex or violence crime act, B.E. 2565
Field Social – Psychology
Name Mr. Manop Chomcheun Course NDC Class 66
The issues of social-psychology security in the field of this research are:
the fear of serious crime, insecurity of life and property, and the trust of criminal justice system. According to the case of a former inmate who was released from prison he shortly committed another serious offence, which brought about a call-out for solutions. Then, the measures to prevent the recidivism of sex or violence crime act was enacted in 2022. At present, it has been more than a year that the Department of Corrections Thailand has been implementing the procedures prescribed by the law. However, some of the released inmates still re-offended.
For this reason, the purpose is to study the causes or factors that leaded the inmates to re-offend. The research results could also be suggestions to develop the treatment of the offenders.
Mixed-method research was used in this research by conducting an in-depth interview with a semi-structured questionnaire with the group of 64 re-offended inmates and interviewed 3 relevant experts and staffs. The data was analyzed using the thematic analysis model and content analysis. The findings showed that most of re-offended inmates, 68.75%, were reimprisoned with drug-related offences. While, it was only 15.63% of the group that was reimprisoned with sex or violent crime. Causes or factors of re-offending were mainly: drug addiction/ inability to stop drug abuse/the easily access to drugs and the insufficient income for living. Interestingly, the group of re-offenders with sex and violent offence had the different main causes or factors of recidivism which were alcohol abuse and anger management/quarrel. Moreover, the findings from the group of relevant experts and staffs showed that they differently explained the causes or factors of reoffending with family socialization, environment, and associates. they also included the mental illness and substance-related disorder.
According to the research results, there would be suggestions for practical use that the Department of Corrections should have stricter reports screening process for the measures of preventing recidivism. The area in prisons
ง
should be managed for each type of the offenders and separate them from other inmates. All the offenders, who prescribed by the law, should be assessed for mental and personality disorders. For policy suggestions, the Department of Corrections should improve the vocational training to ensure that released offenders could have a decent job, and earn enough money to avoid reoffending. A course of alcohol/substance abuse therapy should be added to the treatment program. Lastly, rehabilitation program budget should be increased for these groups of offenders