Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเพิ่มศักยภาพการขนส่งสินค้าทางเรือของไทย กรณีศึกษาการกำหนดมาตรการถ่ายลำสินค้าข้าว ณ ท่าเรือแหลมฉบัง,(วปอ.10194)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง มนัสนิตย์ จิรวัฒน์,(วปอ. 10194)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการเพิ่มศักยภาพการขนส่งสินค้าทางเรือของไทย กรณีศึกษาการ ยกเว้นมาตรการถ่ายล าสินค้าข้าว ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นางมนัสนิตย์ จิรวัฒน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖ การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาและค้นคว้าเพื่อพิสูจน์หาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อเสนออ านวยความ สะดวกด้านการถ่ายล าสินค้าทางเรือแบบคอนเทนเนอร์ (Container) ณ ท่าเรือแหลมฉบัง ของสมาคม เจ้าของและตัวแทนเรือกรุงเทพฯ และหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และข้อกังวล เกี่ยวกับข้อเสนอดังกล่าวของสมาคมท่ีเกี่ยวข้องกับสินค้าข้าว โดยผู้วิจัยพบว่า ปัจจัยส าคัญท่ีดึงดูดให้ สายเรือน าเรือแม่เข้าเทียบท่าเรือแหลมฉบังและเลือกใช้เป็นจุดจอดเรือ กล่าวคือ ท าเลท่ีต้ังทางทะเล ปริมาณสินค้าน าเข้า - ส่งออก และการอ านวยความสะดวกด้านโครงสร้างพื้นฐานของท่าเรือ ซึ่งท่าเรือ แหลมฉบังของไทยมีจุดอ่อนท่ีส าคัญอย่างภูมิศาสตร์ทางทะเลและปริมาณสินค้าน าเข้า - ส่งออกมีการ เติบโตน้อย อย่างไรก็ดี ท่าเรือแหลมฉบังยังมีจุดแข็งด้านภูมิศาสตร์ทางบก เนื่องจากประเทศไทย ต้ังอยู่ในต าแหน่งท่ีสามารถเช่ือมโยงทางบกกับประเทศจีนตอนใต้ และเป็นศูนย์กลางในการติดต่อของ ประเทศในอาเซียน ส่งผลให้ท่าเรือแหลมฉบังมีลักษณะเป็นประตูการค้า (Gateway) ท่ีสามารถเช่ือม ทะเลกับกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม) ดังนั้น การแก้ไขกฎหมาย ท่ีเกี่ยวข้องกับการถ่ายล าสินค้าทางเรือจึงอาจไม่ใช่ปัจจัยหลักท่ีจะส่งผลให้ศักยภาพการขนส่งทางเรือ แบบคอนเทนเนอร์ (Container) ของไทยเพิ่มขึ้น ขณะท่ีขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมข้าวไทยเผชิญกับภาวะถดถอย อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ปัจจุบันไทยไม่มีข้าวพันธุ์ใหม่ท่ีมีศักยภาพเพียงพอท่ีจะแข่งขันกับประเทศ คู่แข่งได้ แม้ว่าข้าวไทยจะมีราคาส่งออกในระดับท่ีใกล้เคียงกับประเทศคู่แข่งอย่างอินเดีย เวียดนาม และปากีสถาน แต่โดยเฉล่ียแล้วยังคงสูงกว่าประเทศคู่แข่งอย่างอินเดียและปากีสถาน จึงสรุปได้ว่าการ ยกเว้นมาตรการถ่ายล าสินค้าข้าวอาจไม่ใช่ประเด็นปัญหาท่ีจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมข้าวไทยใน ปัจจุบันอย่างมีนัยส าคัญ ดังนั้น หากรัฐจะด าเนินการตามข้อเสนอของสมาคมเจ้าของและตัวแทนเรือกรุงเทพฯ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทยฯ รัฐควรพิจารณาข้อเสนอดังกล่าวอย่างละเอียด รอบคอบและถี่ถ้วน ตลอดจนศึกษาและวางแผนการด าเนินการอย่างรัดกุม เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดต่อ ส่วนรวมมากท่ีสุด โดยค านึงถึงผลประโยชน์ของชาติ ความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อย ของประชาชน เป็นส าคัญ

abstract:

ข Abstract Title Guideline for Enhancing Thailand’s Maritime Shipping Capability : A Case Study on Exemption of Rice Transshipment Measure Field Economic Name Mrs. Manatsanith Jirawat Course NDC Class 66 The objective of this research is to study and investigate to prove the facts about the proposal to facilitate the container transshipment at Laem Chabang Port and the concerns on the proposal of the rice related association. The researcher finds that key factors that attract freight forwarders to bring mother vessels to dock at the Laem Chabang Port and utilize it as a key international port are maritime location of the port, volume of import-export cargo and the port’s facilitating infrastructure. In this connection, the Laem Chabang Port has prominent weaknesses in the maritime location and the low growth rate of volume of import-export cargo. However, the Laem Chabang Port has strength in its land location due to Thailand’s geographical position which connects to Southern China and serves as a hub within ASEAN. These strengths contribute to the Laem Chabang Port’s role as a “gateway” connecting maritime trade with CLMV countries (Cambodia, Laos, Myanmar and Vietnam). Therefore, the revision of the regulations related to the transshipment of good might not be the primary factor that enhance Thailand’s maritime shipping capability. Meanwhile, the Thai rice’s competitiveness tends to decline due to lack of new high-potential rice varieties that can complete with rival countries. Although Thai rice export prices are comparable to those of competitors such as India, Vietnam and Pakistan, the prices on average are still higher than India and Pakistan. It can be concluded that the proposed transshipment exemption for rice may not address the core challenge faced by the Thai rice industry. Therefore, the research suggests that if the Thai government decides to follow the proposals of follow the BSAA and the TCCBTT, the Thai government should consider and study the proposals carefully to achieve the highest value and benefit for the public based on the national interests, national security and human security.