เรื่อง: การเพิ่มขีดความสามารถของภาคธุรกิจด้วย Digital Transformation เพื่อการแข่งขันของไทย,(วปอ.10193)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย มงคล เฮงโรจนโสภณ,(วปอ. 10193)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เร่ือง การเพ่ิมขีดความสามารถของภาคธุรกิจด้วย Digital Transformation
เพ่ือการแข่งขันของไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายมงคล เฮงโรจนโสภณ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 66
การวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพ่ือศึกษาปัญหาและอุปสรรคด้าน Digital
Transformation ของภาคธุรกิจไทยในปัจจุบัน 2) เพ่ือศึกษาแนวคิดสู่การทำ Digital Transformation
และปัจจัยความสำเร็จของภาคธุรกิจในการนำ Digital Transformation มาปรับใช้ และ 3) เพ่ือ
เสนอแนวทางการเพ่ิมขีดความสามารถของภาคธุรกิจด้วย Digital Transformation เพ่ือการแข่งขัน
ของไทย วิธีการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลักประกอบด้วย
ผู้แทนจากภาคธุรกิจ SME ผู้แทนตัวแทนจากหน่วยงานภาครัฐ และผู้แทนจากนักวิชาการ รวมจำนวน
12 ราย เครื่องมือในการวิจัยเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การพรรณนาความตาม
วัตถุประสงค์การวิจัย
ผลการวิจัย
1. ปัญหาอุปสรรคสำคัญต่อ Digital Transformation ในไทย พบว่า มีปัญหา
อุปสรรค 3 ประการ ดังนี้ 1) ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอก ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ
ที่มีความสามารถพิเศษ และการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 2) งบประมาณและทรัพยากรไม่
เพียงพอ ประกอบด้วย ไม่มีทรัพยากรบุคคล และ วัฒนธรรมดิจิทัลที่ยังไม่เติบโต 3) กระบวนการ
ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินธุรกิจเป็น Digital Transformation พบว่า ปัญหาการจะทำ
Digital Transformation มาจาก 4 ปัจจัยหลัก คือ (1) การผสมผสานระหว่างข้อมูลใหม่และข้อมูล
เก่า (2) คุณภาพของข้อมูล (3) การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และ (4) การนำเทคโนโลยีมาใช้
ในการทำงาน
2. แนวคิดสู่การทำ Digital Transformation และปัจจัยความสำเร็จของภาคธุรกิจ
ในการนำ Digital Transformation มาปรับใช้ พบว่า มี 6 แนวคิด ดังนี้ 1) การกำหนดเป้าหมาย
ของธุรกิจ (Business Direction) โดยภาคธุรกิจไทยนำ Digital Transformation มาใช้ 3 อันดับแรก
การลดต้นทุนและเพ่ิมประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน การส่งเสริมประสบการณ์ของลูกค้า และ
การลดความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน 2) ปรับวัฒนธรรมองค์กร 3) พัฒนาหรือส่งเสริมประสบการณ์
ใหม่ให้เกิดขึ้นกับลูกค้า 4) พัฒนากระบวนการทำงาน 5) พัฒนาขีดความสามารถและประสิทธิภาพ
ด้านเทคโนโลยี และ 6) พัฒนาด้านเทคโนโลยี
3. แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถของภาคธุรกิจด้วย Digital Transformation
เพื่อการแข่งขันของไทย พบว่า มีแนวทางที่สำคัญ 4 แนวทาง ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านผู้นำ 2) ปัจจัยด้าน
วัฒนธรรมองค์กรที่มีผลต่อการขับเคลื่อนในการทำ Digital Transformation ประกอบด้วย
(1) ความสามารถในการรับมือความเปลี่ยนแปลง (2) การสร้างพ้ืนที่ของการเรียนรู้ และ (3) กระบวนการ
3) ข้อมูล และ 4) เทคโนโลยี
abstract:
ค
Abstract
Title Increasing the capabilities of the business sector with Digital
Transformation for Thailand to compete
Field Economics
Name Mr. Mongkol Hengrojanasophon Course NDC Class 66
The three objectives of this research were 1) to study the current
problems and obstacles in the field of Digital Transformation of the Thai business
sector; 2) to study concepts of Digital Transformation and the success factors for the
business sector in adopting Digital Transformation; and 3) to propose guidelines for
increasing the capabilities of the business sector with Digital Transformation for
Thailand to compete. The research method is qualitative research by collecting data
from key informants consisting of representatives from the SME business sector,
representatives from government agencies, and representatives from academics, a
total of 12 persons. The research tool used was in-depth interviews. The data were
analyzed using a description of the research objectives.
Research results
1. The result of the study of the current problems and obstacles in
the field of Digital Transformation of the Thai business sector found that there
were 3 obstacles as follows: 1) a shortage of both internal and external experts
namely experts with special abilities and building competitiveness; 2) insufficient
budget and resources, namely no human resources and Digital culture that has not
yet matured; 3) the process of changing business operations to Digital
Transformation. It was found that the problem of doing Digital Transformation comes
from 4 main factors: (1) the combination of new and old data, (2) the quality of the
data, (3) developing the potential of personnel, and (4) using technology in doing the
work.
2. The result of the study of the concepts of Digital Transformation
and the success factors for the business sector in adopting Digital
Transformation found that there were 6 concepts as follows: 1) determining
business direction, where the Thai business sector uses Digital Transformation. The
top 3 are reducing costs and increasing employee efficiency, promoting customer
experience, and reducing operational risks, 2) adjusting organizational culture, 3)
developing or promoting new experiences for customers, 4) developing work
ง
processes, 5) developing technology capabilities and efficiency, and 6) technological
development.
3. It was found that the Proposed Guidelines for increasing the
capabilities of the business sector with Digital Transformation for Thailand to
compete have 4 important factors: 1) leadership factor; 2) organizational culture
factor that affects the drive for Digital Transformation, consisting of (1) the ability to
cope with change, (2) creating the learning space, and (3) the process; 3) information;
and 4) technology.