เรื่อง: บทบาทการทูตพหุภาคีของไทยในบริบทการสาธารณสุข,(วปอ.10185)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พืชภพ มงคลนาวิน,(วปอ. 10185)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง บทบาทการทูตพหุภาคีของไทยในบริบทการสาธารณสุข
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นายพืชภพ มงคลนาวิน หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖
ปัจจุบัน ในยุคของความเปล่ียนแปลงในโลก ท้ังจากด้านภูมิรัฐศาสตร์ ปัญหาความ
ท้าทายต่าง ๆ เช่น โรคระบาด ความเปล่ียนแปลงทางภูมิอากาศ พัฒนาการด้านนวัตกรรมและ
เทคโนโลยี ผลกระทบทางเศรษฐกิจสืบเนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ส่งผลให้ประเด็น
สาธารณสุขกลายเป็นประเด็นส าคัญหนึ่งในเวทีโลกซึ่งได้รับความสนใจจากนานาประเทศ เนื่องจาก
การแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ท าให้เห็นว่า ปัญหาด้านสาธารณสุขสามารถส่งผลกระทบในวงกว้าง
และผลกระทบมิได้จ ากัดเพียงแค่ในประเด็นด้านสุขภาพและระบบสาธารณสุขเท่านั้น แต่ยังส่งผล
กระทบอย่างมีนัยส าคัญแก่ระบบเศรษฐกิจ การท่องเท่ียว เทคโนโลยี แม้กระท่ังการเมืองและ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งผลกระทบดังกล่าวมีผลต่อความมั่นคงของมนุษย์ในภาพรวม
ในการรับมือกับการแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ โดยเฉพาะในการจัดหาวัคซีน พบว่า การ
ทูตมีบทบาทส าคัญในการด าเนินการดังกล่าว โดยเฉพาะการทูตพหุภาคี โดยประเทศไทยได้เข้าร่วม
เจรจาหารือเพื่อจัดสรร/ขอซื้อ/ขอยืม วัคซีนจากประเทศต่าง ๆ และได้เข้าร่วมโครงการภายใต้
องค์การอนามัยโลก ท าให้ไทยสามารถจัดหาวัคซีนจากประเทศอื่น หรือส่งวัคซีนท่ีผลิตในไทยไปขาย
ในต่างประเทศได้ ปัจจุบัน ก าลังมีการเจรจาตราสารระหว่างประเทศหรือท่ีเรียกว่า pandemic
treaty เพื่อเป็นแนวทางการด าเนินการในการรับมือกับการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในอนาคต ซึ่งทุก
ประเทศมีส่วนร่วมในการเจรจาบนพื้นฐานของการใช้การทูตพหุภาคีเพื่อส่งเสริมการด าเนินการด้าน
สาธารณสุข การวิจัยในหัวข้อ “บทบาทการทูตพหุภาคีในบริบทการสาธารณสุข” จึงก าหนด
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัยบทบาทในเรื่องดังกล่าวของในอดีตและในปัจจุบัน หาข้อดี ข้อเสีย และ
น าเสนอข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมและยกระดับบทบาทการทูตพหุภาคีในบริบทการสาธารณสุขของ
ไทยในอนาคต เพื่อให้ประเทศไทยเป็นผู้น าด้านการสาธารณสุขโลก
จากผลการศึกษาด้วยวิธีการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง จากวิทยานิพนธ์ บทความ
เอกสารราชการ และจากการสัมภาษณ์ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการเจรจาในเวทีเกี่ยวกับประเด็น
สาธารณสุขในเวทีระหว่างประเทศ ท าให้พบว่า ปัญหาด้านการสาธารณสุขยังจะคงเป็นประเด็นความ
ท้าทายท่ีส าคัญของโลก ซึ่งทุกประเทศต้องร่วมกันรับมือ เนื่องจากผลกระทบของความท้าทายด้าน
การสาธารณสุข โดยเฉพาะจากโรคระบาด สามารถส่งผลกระทบอย่างมีนัยส าคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่
ท่ีดีของประชาชน ตอกย้ าความเหล่ือมล้ าและความไม่เท่าเทียมของการเข้าถึงการบริการทาง
สาธารณสุข ซึ่งส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์ นอกจากนั้น ยังมีแนวโน้มว่า ประเด็นด้านการ
สาธารณสุขในปัจจุบันได้ถูกท าให้กลายเป็นประเด็นทางการเมืองในเวทีการประชุมระหว่างประเทศ
อย่างชัดเจน
ข
ดังนั้น บทบาทการทูตพหุภาคีจึงมีบทบาทส าคัญอย่างยิ่ง หากประเทศไทยจะรักษา
ผลประโยชน์ทางด้านการสาธารณสุข รักษาภาพลักษณ์ของไทยท่ีเป็นประเทศท่ีมีความก้าวหน้าใน
ระดับต้น ๆ ของโลกในด้านการสาธารณสุข และส่งเสริมบทบาทด้านการสาธารณสุขของไทยผ่านการ
ทูตพหุภาคี เพื่อไม่ให้ไทยเสียเปรียบในการเจรจา ในขณะเดียวกันการสาธารณสุขท่ีเข้มแข็ง ก็
สามารถส่งเสริมบทบาทการทูตได้เช่นกัน และเป็น soft power ท่ีดีอย่างหนึ่งในการยกระดับ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและภาพลักษณ์ของไทยในเวทีโลก
จากการท าการศึกษาวิจัย ผู้วิจัยจึงได้มีข้อเสนอแนะในมิติต่าง ๆ เพื่อยกระดับบทบาท
การทูตพหุภาคีของไทยในบริบทการสาธารณสุข ได้แก่ (๑) การพัฒนาบุคลากรด้านการทูตและการ
สาธารณสุข เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และความสามารถในการเจรจาต่อรองในเวทีระหว่างประเทศ
(๒) มีการตั้งงบประมาณให้เพียงพอส าหรับการส่งเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขไปประจ าการท่ีคณะทูตถาวร
ไทยท่ีนครเจนีวา เพื่อจะได้ช่วยท าหน้าท่ีให้ค าปรึกษาด้านประเด็นสาธารณสุขในเวทีเจรจาระหว่าง
ประเทศ (๓) มีการจัดท าแผนการด าเนินการอย่างชัดเจนในการใช้การทูตพหุภาคีเป็นตัวช่วย
ขับเคล่ือนประเด็นด้านการสาธารณสุข โดยมีการก าหนดระยะเวลา (ส้ัน กลาง ยาว) อย่างเป็น
รูปธรรม และมีการก าหนดประเด็นด้านการสาธารณสุขท่ีจะใช้เป็น priority ในการขับเคล่ือนบทบาท
ของไทยในเวทีโลก นอกเหนือจากหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ท้ังนี้ การด าเนินการเพื่อยกระดับการทูตพหุภาคีของไทยในบริบทการสาธารณสุขจะมี
ส่วนในการส่งเสริมยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในมิติความมั่นคง และการแข่งขัน อีกท้ังยังจะมีส่วน
สนับสนุนการด าเนินการของไทยเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนของสหประชาชาติ โดยเฉพาะ
เป้าหมายท่ี ๓ สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (Good health and well-being) ด้วย
abstract:
ค
Abstract
Title The Role of Multilateral Diplomacy in the Public Health Context
Field Politics
Name Phuchphop Mongkolnavin Course NDC Class 66
In the present era, when the world is facing multi-dimensional
challenges, for example, geopolitics, pandemic, climate change, advancement in
technology and the impact from Covid-19, public health has become one of the
most important issues that receive heightened attention from the international
community. Covid-19 has clearly demonstrated that public health crisis has a wide
ramification that does not only limited to just good health and well-being of the
people but also national economy, tourism, technology, politics and international
relations, all of which have impacts on human security.
To address the Covid-19 pandemic, especially in finding vaccine and
medicine, diplomacy, especially multilateral diplomacy, has had an important role to
play. For Thailand, multilateral diplomacy was an important tool in its effort to
contain the spread of Covid-19, enabling the Government to be able to partake in
negotiations and meetings to find and borrow Covid-19 vaccines from other countries
as well as providing the opportunity for the sale of Thai vaccines in the future.
At the moment, there is an ongoing process of negotiation for a new
pandemic treaty that will help the global community to respond more efficiently to
the future pandemic. This negotiation process is open to all countries to participate.
From the basis assumption that multilateral diplomacy can be a tool in
promoting public health, this research paper entitled “The Role of Multilateral
Diplomacy in the Public Health Context” is aimed to study the role of Thai
multilateral diplomacy in connection to public health, find pros and cons as well as
providing recommendations on how to enhance such role in the future so that
Thailand can play a leading role in the field of public health at a global level.
As for research methodology, information used in this paper is collected,
firstly, from literature review of relevant articles, theses and documents from
government agencies; and secondly, from interviews of relevant officials who have
worked in the field of health diplomacy and have participated in international
negotiations on public health issue. This research paper finds that public health
problems will continue to be one of the greatest challenges faced by the
international community and need a collective response from countries around the
ง
world. This is because public health problems could affect the livelihood and well-
being of the people, highlighting the widening gap of inequality in access to public
health services, and thereby undermining human security. Moreover, the issue of
public health has conspicuously become more politicized in international meetings.
Therefore, the role of multilateral diplomacy will continue to be
significant if Thailand wants to maintain its benefits as well as enhance its status as a
leading country in the world in the field of public health. At the same time, a strong
national public health system of Thailand will also help promote its role in
diplomacy, as public health can be seen as soft power that can help enhance
Thailand’s image and international relations in the global arena.
To strengthen Thailand’s role in multilateral diplomacy in the context of
public health, this research paper provides recommendations in terms of human
resources development to boost the knowledge and understanding of both
diplomatic and public health officials in the areas of diplomatic skills and public
health services; budget allocation for secondment of public health official at the
Permanent Mission of Thailand to the United Nations in Geneva; and work plan to
enhance multilateral diplomacy to promote the prioritised public health agenda of
Thailand at international meetings besides the well-recognised Universal Health
Coverage scheme.
It is noteworthy that the elevation of Thailand’s role in multilateral
diplomacy in the public heath context will not only help raise profile and status of
Thailand as one of the leading countries in this field but also help promote the
fulfilment of Thailand’s 20-year National Strategy as well as achieving good health and
well-being of the people - Goal 3 of the UN Sustainable Development Goals.