เรื่อง: ความคุ้มค่าการใช้ Hot-Mix In Plant Recycling ในงานซ่อมบำรุงทางของกรมหลวงชนบท,(วปอ.10178)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พิชิต หุ่นศิริ,(วปอ. 10178)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เร่ือง ความคุมคาการใช Hot Mix In - Plant Recycling ในงานซอมบำรุงทาง
ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายพิชิต หุนศิริ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 66
การนำผิวทาง (แอสฟลตคอนกรีต (AC)) กลับมาใชใหมโดยดำเนินการในโรงงาน
(Hot Mix In-Plant Recycling) เปนวิธีการบำรุงทางที ่ชวยพัฒนามาตรฐานของสายทาง และ
เปนเทคนิคทางวิศวกรรมที ่พัฒนาระบบคมนาคมขนสงของประเทศ สอดรับกับยุทธศาสตรชาติ
(พ.ศ.2561-2580) ที่มุงเนนการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานที่ย่ังยืน การลดการใชพลังงาน และการลด
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รวมถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-
2570) ที่เนนการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ การพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว และการลดตนทุน
การดำเนินงานและการประหยัดพลังงาน งานวิจัยนี้เปนงานวิจัยเชิงคณุภาพ (Qualitative Research)
รวมกับงานวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ
การซอมบำรุงดวยวิธีทั่วไปกับการซอมบำรุงดวยวิธีการนำผิวทางกลับมาใชใหม ศึกษาความคุมคา
และคุณสมบัติเบื้องตนเชิงวิศวกรรมของวัสดุที่นำกลับมาใชใหม ระบุสัดสวนที่เหมาะสมที่สุดในการ
ผสม โดยพิจารณาจากการใชงานในเมืองไทย และวัสดุที่มีอยูในประเทศ รวมกับการศึกษา พัฒนา
และประยุกตกระบวนการในการซอมบำรุงดวยวิธีการนำผิวทางกลับมาใชใหมที่เหมาะสมกับถนน
ของประเทศไทย โดยพิจารณาปจจัยทางดานความคุมคาและคุณสมบัติเบื้องตนทางวิศวกรรม งานวิจัยนี้
ไดทำการศึกษาบนถนนสาย อย.5035 พระนครศรีอยุธยา โดยนำเสนอการวิเคราะหคุณสมบัติ
วิศวกรรมเบื้องตน ในการซอมบำรุงดวยวิธีทั ่วไปซึ่งเปนการใชวัสดุใหมทั้งหมด เปรียบเทียบกับ
การซอมบำรุงดวยวิธีการนำผิวทางกลับมาใชใหม ซึ่งไดศึกษาคุณสมบัติของสัดสวนผิวทางเดิมเพ่ือ
นำกลับมาใชใหมทั้งหมด 2 กรณี คือ ผิวทางเดิม (RAP) รอยละ 40 ผสมกับผิวทางใหม รอยละ 60
และผิวทางเดิม (RAP) รอยละ 50 ผสมกับผิวทางใหม รอยละ 50 และวิเคราะหความคุ มคา
ทางตนทุน ซึ่งไดศึกษาความคุมคาเพิ่มเติมอีก 2 กรณี คือ กรณีสัดสวนผิวทางเดิม (RAP) รอยละ 20
และกรณีผิวทางเดิม (RAP) รอยละ 60 ผลการวิจัย พบวาการใชผิวทางเดิม (RAP) รอยละ 40 ตอ
ผิวทางใหมรอยละ 60 มีความเหมาะสม ท้ังมิติวิศวกรรม และความคุมคาของตนทุนโครงการ รวมกับ
การสังเคราะหผลกระทบดานสิ ่งแวดลอมจากขอมูลทุติยภูมิ ในสภาพแวดลอมและการใชวัสดุ
ภายในประเทศ ทั้งนี้ หากมีปจจัยสนับสนุน เชน นโยบายการยกระดับความสำคัญดานสิ่งแวดลอม
ประกอบกับปจจัยแวดลอมของสายทางที่เหมาะสม ตอการบำรุงทางโดยการใชอัตราสวนผิวทางเดิม
(RAP) รอยละ 60 เนื่องจากลดตนทุนการดำเนินงานไดมากที่สุด ประกอบกับการลดการใชวัสดุใหม
ที่ลดการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจึงเปนเทคนิควิศวกรรมการบำรุงทางที่ควรคา
แกการศึกษาและพัฒนาตอไป
abstract:
ข
Abstract
Title Cost-effectiveness analysis of applying Hot Mix In - Plant Recycling
in road maintenance work, Department of Rural Roads. Hot Mix
Field Economics
Name Mr. Pichit Hunsiri Course NDC Class 66
Hot Mix In-Plant Recycling (HMIPR) is a road maintenance technique that enhances
roadway standards of the transportation infrastructure. This method aligns with Thailand's
National Strategy (2018–2027), which emphasizes sustainable infrastructure development,
energy reduction, and minimizing environmental impacts. Additionally, it supports the 13th
National Economic and Social Development Plan (2023–2027), which focuses on efficient
resource utilization, green economic development, operational cost reduction, and energy savings.
This research employs a combination of qualitative and descriptive research methodologies.
Its primary objective is to compare traditional road maintenance methods with HMIPR, evaluate
the cost-effectiveness and preliminary engineering properties of recycled materials, and identify
the optimal mixing proportions based on domestic use and locally available materials. Furthermore,
the study aims to develop and apply an appropriate HMIPR process for rural roads, considering
cost-effectiveness and engineering properties. The study was conducted on Rural Road
No. 5035 in Phra Nakhon Si Ayutthaya. It involves analyzing the preliminary engineering
properties of traditional maintenance, which uses entirely new materials, compared to HMIPR.
The study examines two scenarios of using Reclaimed Asphalt Pavement (RAP): 40% mixed
with 60% new materials, and 50% RAP mixed with 50% new materials. Additionally, it assesses
the cost-effectiveness of two other RAP proportions: 20% RAP and 60% RAP to find the best
proportion. Findings indicate that the 40% RAP and 60% new material mix is optimal in terms
of both engineering properties and project cost-effectiveness. This study also synthesizes
the environmental impacts using secondary data, considering the local environmental conditions
and material availability. The 60% RAP proportion is recommended in rural road due to its
significant operational cost savings and reduction in new material usage, which minimizes
natural resource depletion and environmental impact. Therefore, HMIPR is a viable and
beneficial road maintenance technique that warrants further study and development
for its potential to enhance sustainable engineering practices in road maintenance.