Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการสนับสนุนข้อมูลอุตสาหกรรมและปัจจัยการผลิตเพื่อการบริหารจัดการข้อมูลแบบ real time ของภาคเอกชน เพื่อการระดมสรรพกำลังของประเทศไทยในอนาคต,(วปอ.10175)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พอพล รุจนพิชญ์,(วปอ. 10175)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางในการสนับสนุนข้อมูลอุตสาหกรรมและปัจจัยการผลิต เพื่อการ บริหารจัดการข้อมูลแบบ real-time ของภาคเอกชน เพื่อการระดม สรรพก าลังของประเทศไทยในอนาคต ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นายพอพล รุจนพิชญ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖ การศึกษาเรื่องแนวทางในการสนับสนุนข้อมูลอุตสาหกรรมและปัจจัยการผลิต เพื่อการ บริหารจัดการข้อมูลแบบ real-time ของภาคเอกชน เพื่อการระดมสรรพก าลังของประเทศ ไทยในอนาคต ศึกษาจากปัจจัย 2 ด้านคือ ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน โดยปัจจัยภายนอก ที่ส าคัญคือ ๑. การแข่งขันของมหาอานาจในภูมิภาคอินโดแปซิฟิกที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทาง ภูมิศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ ๒. สงครามในรูปแบบใหม่ และการปฏิวัติทางเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมที่ถูกน ามาใช้ในทางทหาร โดยเฉพาะด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) เป็นต้น ปัจจัยภายใน ที่ส าคัญคือ ๑. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยที่กาลังก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างรวดเร็ว ๒. การปรับตัวทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศยังคงเป็นปัจจัยที่ท้าทายที่ส า คัญที่มีการน า นวัตกรรมและเทคโนโลยีเกิดใหม่ ( innovations and disruptive technologies) เข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจและการเมือง โดยเฉพาะเมื่อเผชิญกับการระบาดของ COVID-19 ปัจจัยทั้งสองด้านนี้ ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของระบบการระดมสรรพกาลังเพื่อการป้องกันประเทศในอนาคต จนมีความจ าเป็นต้องมีการปรับโครงสร้างการบริหารงาน และการพัฒนาขีดความสามารถ ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านข้อมูลและการบริหารจัดการข้อมูลของระบบการระดมสรรพกาลัง ของประเทศให้พร้อมเผชิญกับสถานการณ์และความท้าทายในอนาคต ที่มีความผันผวนไม่แน่นอน ผลการศึกษาได้เสนอให้ประเทศไทยก าหนดยุทธศาสตร์และนโยบายด้านการสร้างฐานข้อมูลแบบ real-time และการบริหารจัดการในระดับประเทศที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนงานระดมสรรพกาลัง ของประเทศในสถานการณ์ต่างๆ โดยเฉพาะ การจัดตั้ง “ศูนย์บริหารจัดการข้อมูลการระดมสรรพ ก าลังแห่งชาติ : Mobilization Data Management National Center โดยมีระบบ National Data and Analytic Platform (NDAP) รองรับเพื่อพัฒนาขีดความสามารถที่จ าเป็นดังกล่าว นอกจากนั้น การระดมสรรพก าลังของประเทศไทยในอนาคตต้องให้ความส าคัญ กับการสร้างความเช่ือมั่นและการร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ ซึ่งการระดมสรรพก าลัง ของประเทศไทยในอนาคตจะไม่สามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพหากไม่มีความร่วมมือ สนับสนุนจากภาคเอกชนที่จะมีส่วนส าคัญในการลดภารการลงทุนในการระดมสรรพก าลังของชาติ ในส่วนที่เอกชนสามารถทดแทนหรือส ารองสรรพก าลังต่างเพื่อใช้ในภาวะฉุกเฉิน และการบริหาร จัดการและประสิทธิภาพในการสื่อสารก็ถือเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่งที่อาจส่งผลต่อความสามารถ ในการระดมสรรพก าลังอย่างมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะการสื่อสารระหว่างภาครัฐและเอกชนในภาวะ วิกฤตรวมถึงการสร้างความเช่ือมั่นและการร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ โดยเสนอให้ ๑. จัดท าสัญญาในการสนับสนุนการระดมสรรพก าลังของชาติกับทุกหน่วยงานของภาคเอกชน ข ที่เกี่ยวอย่างชัดเจน และ ๒. สร้างความมีส่วนร่วมกับองค์กรและผู้บริหารองค์กรภาคเอกชน โดยน าเสนอให้ผู้บริหารรับสูงในองค์กรภาคเอกชนเข้ารับการฝึกอบรมและผ่านการรับรอง การฝึกอบรมผู้น าการระดมสรรพก าลังภาคเอกชนระดับผู้บริหาร รวมถึง ๓. ให้สิทธิพิเศษทาง ภาษีอากรกับองค์กรภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุนการระดมสรรพก าลังของชาติ เพื่อให้เกิดการพัฒนา ความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนและมีบทบาทร่วมกันที่ชัดเจนต่อการพัฒนา ระบบการระดมสรรพก าลังของชาติของไทยในอนาคตต่อไป

abstract:

ค Abstract Title A Study on Guidelines for Supporting Real-Time Industrial and Production Factor Data Management by the Private Sector for Thailand's Future Resource Mobilization Field Science and Technology Name Mr. Poopol Rujanapich Course NDC Class 66 This study examines the guidelines for supporting real-time industrial and production factor data management by the private sector for Thailand's future resource mobilization, considering both external and internal factors. The key external factors include: 1. The competition among great powers in the Indo-Pacific region, affecting geopolitical and economic changes. 2. The advent of new forms of warfare and the technological and industrial revolution, especially in artificial intelligence (AI), used in the military context. The significant internal factors are: 1. The demographic changes in Thailand, which is rapidly becoming an aging society. 2. The country's economic and political adaptations remain crucial challenges, involving the integration of innovations and disruptive technologies into the economic and political systems, especially amid the COVID-19 pandemic. These factors impact the effectiveness of the resource mobilization system for national defense, necessitating structural adjustments in management and the development of technological capabilities and innovations in data and information management systems. The study proposes that Thailand should formulate a clear national strategy and policy for building real-time databases and management systems to support national resource mobilization in various scenarios. Particularly, it recommends establishing the "Mobilization Data Management National Center" supported by the National Data and Analytic Platform (NDAP) to develop the necessary capabilities. Furthermore, future resource mobilization in Thailand must emphasize building confidence and cooperation between the private and public sectors. Effective resource mobilization cannot be achieved without the private sector's support, which is crucial in reducing national investment burdens by providing backup resources during emergencies. Efficient communication and management are also essential, particularly in crisis communication between the government and private sector. The study recommends: 1. Clearly defining agreements with all relevant private sector entities to support national resource mobilization. 2. Engaging private sector organizations and executives by proposing that senior executives undergo training ง and certification as private sector Resource Mobilization Leaders. 3. Offering tax incentives to private sector organizations that support national resource mobilization to foster relationships and cooperation between the public and private sectors and define their roles in developing Thailand's national resource mobilization system in the future.