เรื่อง: การศึกษา การใช้แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ทหารเป็นสื่อในการสร้างความเข้าใจระหว่างประชาชนกับกองทัพ,(วปอ.10174)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี พลศักดิ์ ศรีเพ็ญ,(วปอ. 10174)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การศึกษา การใช้แหล่งท่องเท่ียวในพื้นท่ีทหารเป็นสื่อในการสร้างความเข้าใจ
ระหว่างประชาชนกับกองทัพ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พลตรี พลศักด์ิ ศรีเพ็ญ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖
การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Social Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
๑. ศึกษาเกี่ยวกับการใช้แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ทหารเปน็สื่อในการสร้างความเข้าใจระหว่างประชาชน
กับกองทัพ ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ทหารเป็นสื่อในการสร้าง
ความเข้าใจระหว่างประชาชนกับกองทัพ ๓. พัฒนารูปแบบการใช้แหล่งท่องเทีย่วในพื้นที่ทหารเปน็สือ่
ในการสร้างความเข้าใจระหว่างประชาชนกับกองทัพ สร้างจิตส านึกในความเป็นชาติ ความตระหนักรู้
ความภูมิใจในการเป็นเจ้าของ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎี การจัดการความรู้ (Knowledge
Management : KM) การประชาสัมพันธ์ (Public Relations : PR) ความรับผิดชอบต่อสังคมและ
สิ่งแวดล้อมขององค์กร (Corporate Social Responsibility : CSR) การสร้างชุดความคิด (Mindset)
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชอฟท์พาวเวอร์ (Soft Power) ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) ผู้วิจัยศึกษาทฤษฎี ทบทวนวรรณกรรมเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบ
ที่เกี่ยวข้องว่ามีความสอดคล้อง (Fit) โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory
Factor Analysis : CFA) และความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ( Causal Relationships) ผู้ให้ข้อมูลส าคัญ
การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยเด็กและเยาวชน ข้าราชการทหารระดับผู้บริหาร และระดับปฏิบัติการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ ผู้แทนจากองค์กรการท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์จ านวน
๑๔๕ คน เครื่องมือการวิจัย คือ แบบบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Groups Report) และ
แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi- Construction In-Depth Interview) ผลการศึกษา
พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ทหารเป็นสื่อในการสร้างความเข้าใจระหว่าง
ประชาชนกับกองทัพมากที่สุดได้แก่ การประชาสัมพันธ์ (Public Relations : PR) ความรับผิดชอบ
ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร(Corporate Social Responsibility : CSR) และการจัดการ
ความรู้ (Knowledge Management : KM) ตามล าดับ
abstract:
ข
Abstract
Title Utilizing Military Tourism Sites as a Medium in Fostering Civil-Military
Relations
Field Social – Psychology
Name Major General Polsak Sripen Course NDC Class 66
This research was to 1 study influenced factors of Attractive Military Regions
on Public Relation Between Army and People. 2 To analyze the related factors of
Knowledge Management : KM, Public Relations : PR, Corporate Social Responsibility :
CSR, effected to The Study of Attractive Military Regions on Public Relation Between
Army and People. 3 Developing Model of Study an influenced factors of Attractive Military
Regions on Public Relation Between Army and People, Mindset, Soft Power Strategy
basis on Country’s Conciousness and Proud. Research Methodology was Qualitative
with data analysis. Focused Groups and In Depth Interviews were used. Confirmatory
Factor Analysis : CFA, Causal Relationships were explained. The key informants were
145 composed of Youth, Military Officers, Tourism Stakeholders in Pechaburee and
Prachuabkeereekhun Provinces. The research instrument were Focus Groups Report and
Semi-Construction In-Depth Interview. The results show influenced factors of Attractive
Military Regions on Public Relation Between Army and People from the most were
Public Relations : PR, Corporate Social Responsibility: CSR and Knowledge Management :
KM respectively.