เรื่อง: แนวทางการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนการบริบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้องถนนของประเทศไทย,(วปอ.10173)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ศ.นายแพทย์ พรพรหม เมืองแมน,(วปอ. 10173)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางทางการพัฒนาความยั่งยืนการบริบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
บนท้องถนนของประเทศไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ศาสตราจารย์ นายแพทย์พรพรหม เมืองแมน หลักสูตร วปอ. รุน่ที่ 66
การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนเป็นปัญหาหนึ่งท่ีส าคัญโดยมีขับเคล่ือนในระดับโลก
โดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้ปี ค.ศ.2021-2030 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัย
ทางถนน มีเป้าหมายการเสียชีวิตและการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนลงอย่างน้อย ร้อยละ 50
ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยมีกรอบด าเนินงาน 5 เสาหลักแห่งความปลอดถัยทางถนน ได้แก่ 1. การบริหาร
จัดการความปลอดภัยทางถนน 2. ถนนและการสัญจรอย่างปลอดภัย 3. ยานพาหนะท่ีปลอดภัย 4. ผู้ใช้รถใช้
ถนนอย่างปลอดภัย 5. การตอบสนองหลังเกิดอุบัติเหตุ และมี 12 เป้าหมายก ากับการด าเนินงาน
ด้านความปลอดภัยทางถนน ประเทศไทยได้ด าเนินงานตามกรอบดังกล่าว แต่จากรายงานการทบทวนของ
องค์การอนามัยโลกแห่งประเทศไทยไม่พบว่ามียุทธศาสตร์ของเสาท่ี 5 ในแผนแม่บทความปลอดภัย
ทางถนน แต่มีปรากฎในแผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
การวิจัยแนวทางทางการพัฒนาความยั่งยืนการบริบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้อง
ถนนของประเทศไทยเป็นการวิจัยเชิงประยุกต์แบบผสานวิธี (Mix Method) โดยการวิจัย
เชิงปริมาณ (Quantitative Research) จากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ เอกสาร ข้อมูลทางสถิติ
เอกสารงานวิจัยและอื่นท่ีเกี่ยวข้อง และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) จากแหล่งข้อมูล
ปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาดังนี้
การศึกษาการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้องถนนของประชากรไทยปี พ.ศ. 2561-2565 อัตราการ
เสียชีวิตจากอุบัติบนท้องถนนต่อประชากรแสนราย มีแนวโน้มลดลงจาก 30.47 ใน พ.ศ. 2561 เป็น
26.65 ใน พ.ศ. 2565 สถานการณ์อุบัติเหตุบนท้องถนน ปัญหา สาเหตุ อุปสรรคและความต้องการ
ในการพัฒนาระบบบริบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้องถนน มีปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ 1. ภาระงาน
2. งบประมาณ 3. ระบบปฏิบัติการ และ 4. บุคลากร ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบการบริบาล
ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้องถนนให้เกิดความมั่นคงทางด้านการสาธารณสุขของชาติ มีแนวทางการ
ด าเนินการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพในการท างานระบบการบริบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุบน
ท้องถนน 2. บริหารจัดการงบประมาณระบบการบริบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้องถนน 3. พัฒนาระบบ
การบริบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้องถนน 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในการป้องกันและรับมือ
กับอุบัติเหตุบนท้องถนน
abstract:
ข
Abstract
Title Guidelines for Sustainable Development of Care for Accident
Injured On the streets of Thailand.
Field Social - Psychology
Name Professor, Dr. Pornprom Muangman Course NDC Class 66
Road accidents are a major global problem. The United Nations General
Assembly declared 2021-2030 as the Decade for Road Safety, aiming to reduce road
traffic deaths and injuries by at least 50%. The framework consists of five main pillars:
1) Road safety management, 2) Safe roads and mobility, 3) Safe vehicles, 4) Safe road
users, and 5) Post-crash response. In addition to these pillars, 12 targets guide road
safety operations. Thailand has implemented this framework, but a WHO review
found that Thailand's road safety master plan addressed the first four pillars but did
not include a strategy for the fifth, post-crash response, which was instead covered in
the national emergency medical master plan.
The research on sustainable development guidelines for road accident
care in Thailand is a mixed-methods applied research study. Quantitative research is
conducted from secondary sources such as documents, statistical data, research
papers, and other related data, and qualitative research from primary sources,
including in-depth interviews. The results of the study are as follows:
The results of the study indicate that from 2018 to 2022, the road
accident mortality rate in Thailand decreased from 30.47 to 26.65 per 100,000
population. Despite this improvement, the study identified several ongoing
challenges in the care system, including issues with workload, budget constraints,
operating systems, and personnel shortages. To address these challenges and
enhance national public health security, the study proposed the following guidelines
for developing a more effective care system for road accident victims: 1) Improve the
quality of the care system, 2) Manage the care system budget more efficiently,
3) Further develop the care system infrastructure, and 4) Strengthen human
resources to better prevent and manage road accidents.